แนวทางการสร้างความผูกพันของศิษย์เก่า คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

การ วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความผูกพัน ระดับค่านิยมองค์กร และระดับการมีส่วนร่วมของศิษย์เก่าคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันของศิษย์เก่าคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 3) นําเสนอแนวทางการสร้างความผูกพันของศิษย์เก่า คณะสัง...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ชัยพร รองทอง, ตติยา พนมวัน ณ อยุธยา, Chaiyaporn Rongthong, Tatiya Panomwan Na Ayuttaya
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79944
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79944
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ความผูกพัน
ค่านิยมองค์กร
การมีส่วนร่วม
Engagement
Core Values
Commitment
spellingShingle ความผูกพัน
ค่านิยมองค์กร
การมีส่วนร่วม
Engagement
Core Values
Commitment
ชัยพร รองทอง
ตติยา พนมวัน ณ อยุธยา
Chaiyaporn Rongthong
Tatiya Panomwan Na Ayuttaya
แนวทางการสร้างความผูกพันของศิษย์เก่า คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
description การ วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความผูกพัน ระดับค่านิยมองค์กร และระดับการมีส่วนร่วมของศิษย์เก่าคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันของศิษย์เก่าคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 3) นําเสนอแนวทางการสร้างความผูกพันของศิษย์เก่า คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นการวิจัยแบบผสมวิธี (Mix-Methods Research) ประชากร คือ ศิษย์เก่า และ รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาหรือผู้แทนจากคณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยการจัดการและวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณ จํานวน 351คน อัตราตอบกลับ 324 คน (92.30%) และกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพ จํานวน 9 คน ซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลสําคัญ (Key Person) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ผลการวิจัย พบว่า 1) ระดับความผูกพันของศิษย์เก่าคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความผูกพันมากที่สุดในด้านความเชื่อมั่นและยอมรับในเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ 2) ระดับการมีส่วนร่วมของศิษย์เก่าคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย โดยมีส่วนร่วมมากที่สุดในด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ 3) ระดับพฤติกรรมและการปฏิบัติตามค่านิยมองค์กรของศิษย์เก่าคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีพฤติกรรมและการปฏิบัติตามค่านิยมองค์กรมากที่สุดในด้าน Harmony: กลมกลืนกับสรรพสิ่งแนวทางการพัฒนาและข้อเสนอแนะจากการวิจัย 1) จัดตั้งกลุ่ม Facebook ศิษย์เก่า เพื่อใช้ติดต่อสื่อสาร ระหว่างคณะฯและศิษย์เก่า รวมทั้งเป็นการสร้างเครือข่ายระหว่างศิษย์เก่าด้วยกัน 2) จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์ นักศึกษาปัจจุบัน และศิษย์เก่า หรือ เชิญศิษย์เก่าเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดโครงการหรือกิจกรรมของคณะฯ หรือการจัดกิจกรรมโดยการแบ่งกลุ่มตามความสนใจ 3) จัดตั้งสมาศิษย์เก่า เพื่อเข้ามาบริหารจัดการและดําเนินการขับเคลื่อนนโยบายเกี่ยวกับศิษย์เก่า ภายใต้การบริหารงานที่สอดคล้องกับแนวทางของคณะฯ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
ชัยพร รองทอง
ตติยา พนมวัน ณ อยุธยา
Chaiyaporn Rongthong
Tatiya Panomwan Na Ayuttaya
format Article
author ชัยพร รองทอง
ตติยา พนมวัน ณ อยุธยา
Chaiyaporn Rongthong
Tatiya Panomwan Na Ayuttaya
author_sort ชัยพร รองทอง
title แนวทางการสร้างความผูกพันของศิษย์เก่า คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_short แนวทางการสร้างความผูกพันของศิษย์เก่า คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_full แนวทางการสร้างความผูกพันของศิษย์เก่า คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_fullStr แนวทางการสร้างความผูกพันของศิษย์เก่า คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_full_unstemmed แนวทางการสร้างความผูกพันของศิษย์เก่า คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
title_sort แนวทางการสร้างความผูกพันของศิษย์เก่า คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79944
_version_ 1764209759712444416
spelling th-mahidol.799442023-03-31T11:23:29Z แนวทางการสร้างความผูกพันของศิษย์เก่า คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล Building Guildline for Alumni Commitment of Faculty of Social Sciences and Huminities, Mahidol University ชัยพร รองทอง ตติยา พนมวัน ณ อยุธยา Chaiyaporn Rongthong Tatiya Panomwan Na Ayuttaya มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ความผูกพัน ค่านิยมองค์กร การมีส่วนร่วม Engagement Core Values Commitment การ วิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความผูกพัน ระดับค่านิยมองค์กร และระดับการมีส่วนร่วมของศิษย์เก่าคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 2) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความผูกพันของศิษย์เก่าคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล 3) นําเสนอแนวทางการสร้างความผูกพันของศิษย์เก่า คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดลเป็นการวิจัยแบบผสมวิธี (Mix-Methods Research) ประชากร คือ ศิษย์เก่า และ รองคณบดีฝ่ายกิจการนักศึกษาหรือผู้แทนจากคณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยการจัดการและวิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้วิจัยแบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณ จํานวน 351คน อัตราตอบกลับ 324 คน (92.30%) และกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพ จํานวน 9 คน ซึ่งเป็นผู้ให้ข้อมูลสําคัญ (Key Person) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ผลการวิจัย พบว่า 1) ระดับความผูกพันของศิษย์เก่าคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก โดยมีความผูกพันมากที่สุดในด้านความเชื่อมั่นและยอมรับในเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ 2) ระดับการมีส่วนร่วมของศิษย์เก่าคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในภาพรวมอยู่ในระดับน้อย โดยมีส่วนร่วมมากที่สุดในด้านการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์ 3) ระดับพฤติกรรมและการปฏิบัติตามค่านิยมองค์กรของศิษย์เก่าคณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด โดยมีพฤติกรรมและการปฏิบัติตามค่านิยมองค์กรมากที่สุดในด้าน Harmony: กลมกลืนกับสรรพสิ่งแนวทางการพัฒนาและข้อเสนอแนะจากการวิจัย 1) จัดตั้งกลุ่ม Facebook ศิษย์เก่า เพื่อใช้ติดต่อสื่อสาร ระหว่างคณะฯและศิษย์เก่า รวมทั้งเป็นการสร้างเครือข่ายระหว่างศิษย์เก่าด้วยกัน 2) จัดกิจกรรมเพื่อเสริมสร้างความสัมพันธ์ระหว่างอาจารย์ นักศึกษาปัจจุบัน และศิษย์เก่า หรือ เชิญศิษย์เก่าเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดโครงการหรือกิจกรรมของคณะฯ หรือการจัดกิจกรรมโดยการแบ่งกลุ่มตามความสนใจ 3) จัดตั้งสมาศิษย์เก่า เพื่อเข้ามาบริหารจัดการและดําเนินการขับเคลื่อนนโยบายเกี่ยวกับศิษย์เก่า ภายใต้การบริหารงานที่สอดคล้องกับแนวทางของคณะฯ The objectives of this research are to 1) to study the level of engagement. Core value level and the participation level of alumni of the Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University 2) to study the factors affecting engagement of alumni of the Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University 3) to propose guidelines for building engagement among alumni. Faculty of Social Sciences and Humanities Mahidol University. It is a blend of research. (Mix-Method) Population is an alumni and associate dean for student affairs or representatives from the Faculty of Nursing, College of Management and College of Music Mahidol University The research samples were divided into 2 groups: 351 quantitative samples, 324 respondents (92.30%) and 9 qualitative samples, who were key persons. Questionnaire and interview form. The research findings were as follows: 1) The level of engagement of alumni of the Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University Overall, it is at a high level. Have the greatest commitment in confidence and acceptance. The goals and values ​​of the organization 2) The participation level of the alumni of the Faculty of Social Sciences and Humanities, Mahidol University In general, it is at a low level. Most involved in receiving participation 3) Level of behavior and practice of organizational values ​​of alumni of the Faculty of Social Sciences andHumanities, Mahidol University Overall, it is at the highest level. They have the most behaviors and practice of corporate values ​​in the field of Harmony: in harmony with all. Development guidelines and research suggestions 1) Establish a Facebook group for alumni to communicate Between faculties and alumni as well as building a network between alumni together 2) Organizing activities to strengthen relations between teachers, Current students and alumni or alumni participate in organizing projects or activities of the faculty. Or organizing activities by dividing groups according to their interests; 3) Establishing alumni members in order to manage and drive policy on alumni Under the administration in accordance with the guidelines of the faculty. 2022-10-25T02:24:35Z 2022-10-25T02:24:35Z 2565-10-25 2564 Research Article วารสารสหศาสตร์. ปีที่ 21, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), 46-61 1513-8429 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79944 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf