รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในระดับพื้นที่สู่การปฏิบัติจังหวัดนนทบุรี ปี 2559
การศึกษาเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติ ในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยแวดล้อมทางนโยบายและกระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม และศึกษารูปแบบการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื...
Saved in:
Main Authors: | , , , , , , , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2022
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79947 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.79947 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.799472023-03-31T07:50:57Z รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในระดับพื้นที่สู่การปฏิบัติจังหวัดนนทบุรี ปี 2559 2016 Public Policy Driving Model for Participatory Health at The Area Level to Implementation of Nonthaburi Province แคทรียา การาม อังสนา บุญธรรม สุภาภรณ์ สงค์ประชา ลือชัย ศรีเงินยวง Kathareeya Karam Angsana Boonthum Supaporn Songpracha Luechai Sri-Ngernvuang มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์ รูปแบบการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติ / กลไก กระบวนการ Model of Moving Participatory Healthy Public Policies to Action Mechanism or Team and Process การศึกษาเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติ ในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยแวดล้อมทางนโยบายและกระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม และศึกษารูปแบบการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติจังหวัดนนทบุรี โดยหมายถึง กลไก และกระบวนการพัฒนาผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติ โดยมีระยะเวลาทำการศึกษาวิจัย 12 เดือน ระหว่างเดือน มกราคม 2562 – ธันวาคม 2562 ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยหลักในการกำหนดความสำเร็จของการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม คือ กระบวนการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ที่ประกอบไปด้วย การจัดกลไก การทบทวนวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกำหนดประเด็นในการพัฒนาเป็นนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย การตัดสินใจเชิงนโยบาย (การจัดประชุมสมัชชาสุขภาพจังหวัด) การผลักดันขับเคลื่อนมติสู่การปฏิบัติ การประเมินผลนโยบาย และการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเฉพาะกระบวนการขั้นการจัดกลไก การกำหนดประเด็น และการผลักดันขับเคลื่อนมติสู่การปฏิบัติ ในส่วนของปัจจัยแวดล้อมทางนโยบายเป็นปัจจัยเสริมที่เอื้อและสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมไปสู่การปฏิบัติ รูปแบบการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติ จังหวัดนนทบุรี คือ รูปแบบสมดุลประยุกต์ คือกลไกมีความสมดุลภาคส่วน กระบวนการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติมีการประยุกต์จากสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ The objectives of this descriptive study were to study the factors that affect to moving participatory healthy public policies to action in Nonthaburi area, consisted of policy environmental factors and participatory healthy public policies process. It was also aimed to study the Nonthaburi Model of moving participatory healthy public policies to action. The study period was 12 months between January 2019 - December 2019. The results showed key factors in determining success of participatory healthy public policies movement in public policies process, composite mechanism or team, stakeholder analysis, defining issues, developing policy proposals and policy option, policy decisions, moving resolutions to action, policy evaluation and organizing the learning exchange process. Extremely important is mechanism or team, defining issues and moving resolutions to action. Additional factors that support policy movement is policy environmental factors.Nonthaburi Model of moving participatory healthy public policies to action is applied and balanced. Clarify is the mechanism that is balanced by the government sector. The process is applied to the National Health Assembly. 2022-10-25T03:27:01Z 2022-10-25T03:27:01Z 2565-10-25 2564 Research Article วารสารสหศาสตร์. ปีที่ 21, ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2564), 144-161 1513-8429 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79947 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
รูปแบบการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติ / กลไก กระบวนการ Model of Moving Participatory Healthy Public Policies to Action Mechanism or Team and Process |
spellingShingle |
รูปแบบการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติ / กลไก กระบวนการ Model of Moving Participatory Healthy Public Policies to Action Mechanism or Team and Process แคทรียา การาม อังสนา บุญธรรม สุภาภรณ์ สงค์ประชา ลือชัย ศรีเงินยวง Kathareeya Karam Angsana Boonthum Supaporn Songpracha Luechai Sri-Ngernvuang รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในระดับพื้นที่สู่การปฏิบัติจังหวัดนนทบุรี ปี 2559 |
description |
การศึกษาเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติ ในพื้นที่จังหวัดนนทบุรี ซึ่งประกอบด้วย ปัจจัยแวดล้อมทางนโยบายและกระบวนการนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม และศึกษารูปแบบการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติจังหวัดนนทบุรี โดยหมายถึง กลไก และกระบวนการพัฒนาผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติ โดยมีระยะเวลาทำการศึกษาวิจัย 12 เดือน ระหว่างเดือน มกราคม 2562 – ธันวาคม 2562
ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยหลักในการกำหนดความสำเร็จของการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม คือ กระบวนการพัฒนาและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม ที่ประกอบไปด้วย การจัดกลไก การทบทวนวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย การกำหนดประเด็นในการพัฒนาเป็นนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วม การพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบาย การตัดสินใจเชิงนโยบาย (การจัดประชุมสมัชชาสุขภาพจังหวัด) การผลักดันขับเคลื่อนมติสู่การปฏิบัติ การประเมินผลนโยบาย และการจัดกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยเฉพาะกระบวนการขั้นการจัดกลไก การกำหนดประเด็น และการผลักดันขับเคลื่อนมติสู่การปฏิบัติ ในส่วนของปัจจัยแวดล้อมทางนโยบายเป็นปัจจัยเสริมที่เอื้อและสนับสนุนการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมไปสู่การปฏิบัติ รูปแบบการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติ จังหวัดนนทบุรี คือ รูปแบบสมดุลประยุกต์ คือกลไกมีความสมดุลภาคส่วน กระบวนการผลักดันและขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมสู่การปฏิบัติมีการประยุกต์จากสมัชชาสุขภาพแห่งชาติ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสาธารณสุขศาสตร์ แคทรียา การาม อังสนา บุญธรรม สุภาภรณ์ สงค์ประชา ลือชัย ศรีเงินยวง Kathareeya Karam Angsana Boonthum Supaporn Songpracha Luechai Sri-Ngernvuang |
format |
Article |
author |
แคทรียา การาม อังสนา บุญธรรม สุภาภรณ์ สงค์ประชา ลือชัย ศรีเงินยวง Kathareeya Karam Angsana Boonthum Supaporn Songpracha Luechai Sri-Ngernvuang |
author_sort |
แคทรียา การาม |
title |
รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในระดับพื้นที่สู่การปฏิบัติจังหวัดนนทบุรี ปี 2559 |
title_short |
รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในระดับพื้นที่สู่การปฏิบัติจังหวัดนนทบุรี ปี 2559 |
title_full |
รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในระดับพื้นที่สู่การปฏิบัติจังหวัดนนทบุรี ปี 2559 |
title_fullStr |
รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในระดับพื้นที่สู่การปฏิบัติจังหวัดนนทบุรี ปี 2559 |
title_full_unstemmed |
รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในระดับพื้นที่สู่การปฏิบัติจังหวัดนนทบุรี ปี 2559 |
title_sort |
รูปแบบการขับเคลื่อนนโยบายสาธารณะเพื่อสุขภาพแบบมีส่วนร่วมในระดับพื้นที่สู่การปฏิบัติจังหวัดนนทบุรี ปี 2559 |
publishDate |
2022 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79947 |
_version_ |
1763488113541251072 |