วิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เปรียบเทียบกับของมหาวิทยาลัยมหิดล

เจตนารมณ์หรือเป้าหมายสำคัญของการเป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐหรือที่เรียกว่า “มหาวิทยาลัยนอกระบบ” คือ การลดภาระงบประมาณแผ่นดินที่รัฐบาลให้การสนับสนุนในรูปงบประมาณแบบวงเงินรวมหรืองบประมาณในรูปเงินก้อน (Block Grant) โดยให้สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสามารถพึ่งพาตนเองได้จากเงินนอกงบประมาณหรือแสวงหา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุนิดา เกียรติวัฒนวิศาล
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2022
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79950
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.79950
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic การจัดสรรงบประมาณ
มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ
มหาวิทยาลัยมหิดล
Higher education institutions
Annual expenditure budget
Mahidol University
spellingShingle การจัดสรรงบประมาณ
มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ
มหาวิทยาลัยมหิดล
Higher education institutions
Annual expenditure budget
Mahidol University
สุนิดา เกียรติวัฒนวิศาล
วิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เปรียบเทียบกับของมหาวิทยาลัยมหิดล
description เจตนารมณ์หรือเป้าหมายสำคัญของการเป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐหรือที่เรียกว่า “มหาวิทยาลัยนอกระบบ” คือ การลดภาระงบประมาณแผ่นดินที่รัฐบาลให้การสนับสนุนในรูปงบประมาณแบบวงเงินรวมหรืองบประมาณในรูปเงินก้อน (Block Grant) โดยให้สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสามารถพึ่งพาตนเองได้จากเงินนอกงบประมาณหรือแสวงหารายได้อื่นให้มากขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์การวิเคราะห์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบงบประมาณสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 - 2565 และทำการศึกษาวิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณของมหาวิทยาลัยมหิดล จากการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจะพบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ รวม 26 หน่วยงาน ได้รับจัดสรรงบประมาณ จำนวน 71,001.2118 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 50.57 ของงบประมาณทั้งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กระทรวง อว.) โดยกระทรวง อว. ได้รับงบประมาณลดลง จากปี 2564 จำนวน 1,226.0296 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.70 (ข้อมูลรายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงบประมาณของรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร) มหาวิทยาลัย ที่ได้รับงบประมาณสูงสุด คือ มหาวิทยาลัยมหิดล (13,171.4394 ล้านบาท) เนื่องจากมหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ มีบุคลากรจำนวนมาก แบ่งเป็นสายวิชาการ จำนวน 4,012 คน และสายสนับสนุนจำนวน 34.107 คน รวมทั้งสิ้น 38,119 คน และมีส่วนงานภายในมากมายรวมถึงมีโรงพยาบาลในสังกัด เช่น โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน โรงพยาบาลทันตกรรม และ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก จากข้อมูลดังกล่าว จะเห็นได้ว่ามหาวิทยาลัยมหิดลถึงแม้จะได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มากที่สุดในประเทศไทย แต่ทว่ามหาวิทยาลัยต้องหารายได้จาก การบริการวิชาการ และการวิจัยให้ได้มากกว่า 3 เท่าของเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรจากรัฐบาลเพื่อให้มหาวิทยาลัยสามารถเลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์
สุนิดา เกียรติวัฒนวิศาล
format Article
author สุนิดา เกียรติวัฒนวิศาล
author_sort สุนิดา เกียรติวัฒนวิศาล
title วิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เปรียบเทียบกับของมหาวิทยาลัยมหิดล
title_short วิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เปรียบเทียบกับของมหาวิทยาลัยมหิดล
title_full วิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เปรียบเทียบกับของมหาวิทยาลัยมหิดล
title_fullStr วิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เปรียบเทียบกับของมหาวิทยาลัยมหิดล
title_full_unstemmed วิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เปรียบเทียบกับของมหาวิทยาลัยมหิดล
title_sort วิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เปรียบเทียบกับของมหาวิทยาลัยมหิดล
publishDate 2022
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79950
_version_ 1763489076646772736
spelling th-mahidol.799502023-03-30T13:24:44Z วิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ เปรียบเทียบกับของมหาวิทยาลัยมหิดล Analysis of autonomous university budget allocation Compared to that of Mahidol University สุนิดา เกียรติวัฒนวิศาล มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ การจัดสรรงบประมาณ มหาวิทยาลัยในกํากับของรัฐ มหาวิทยาลัยมหิดล Higher education institutions Annual expenditure budget Mahidol University เจตนารมณ์หรือเป้าหมายสำคัญของการเป็นสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐหรือที่เรียกว่า “มหาวิทยาลัยนอกระบบ” คือ การลดภาระงบประมาณแผ่นดินที่รัฐบาลให้การสนับสนุนในรูปงบประมาณแบบวงเงินรวมหรืองบประมาณในรูปเงินก้อน (Block Grant) โดยให้สถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐสามารถพึ่งพาตนเองได้จากเงินนอกงบประมาณหรือแสวงหารายได้อื่นให้มากขึ้น โดยมีวัตถุประสงค์การวิเคราะห์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบงบประมาณสถาบันอุดมศึกษาในกำกับของรัฐ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2562 - 2565 และทำการศึกษาวิเคราะห์การจัดสรรงบประมาณของมหาวิทยาลัยมหิดล จากการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจะพบว่า ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 มหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ รวม 26 หน่วยงาน ได้รับจัดสรรงบประมาณ จำนวน 71,001.2118 ล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 50.57 ของงบประมาณทั้งกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (กระทรวง อว.) โดยกระทรวง อว. ได้รับงบประมาณลดลง จากปี 2564 จำนวน 1,226.0296 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.70 (ข้อมูลรายงานการวิเคราะห์งบประมาณรายจ่าย ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 สำนักงบประมาณของรัฐสภา สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร) มหาวิทยาลัย ที่ได้รับงบประมาณสูงสุด คือ มหาวิทยาลัยมหิดล (13,171.4394 ล้านบาท) เนื่องจากมหาวิทยาลัยเป็นมหาวิทยาลัยขนาดใหญ่ มีบุคลากรจำนวนมาก แบ่งเป็นสายวิชาการ จำนวน 4,012 คน และสายสนับสนุนจำนวน 34.107 คน รวมทั้งสิ้น 38,119 คน และมีส่วนงานภายในมากมายรวมถึงมีโรงพยาบาลในสังกัด เช่น โรงพยาบาลศิริราช โรงพยาบาลรามาธิบดี โรงพยาบาลเวชศาสตร์เขตร้อน โรงพยาบาลทันตกรรม และ ศูนย์การแพทย์กาญจนาภิเษก จากข้อมูลดังกล่าว จะเห็นได้ว่ามหาวิทยาลัยมหิดลถึงแม้จะได้รับการจัดสรรงบประมาณรายจ่ายประจำปี (เงินอุดหนุนจากรัฐบาล) มากที่สุดในประเทศไทย แต่ทว่ามหาวิทยาลัยต้องหารายได้จาก การบริการวิชาการ และการวิจัยให้ได้มากกว่า 3 เท่าของเงินงบประมาณที่ได้รับการจัดสรรจากรัฐบาลเพื่อให้มหาวิทยาลัยสามารถเลี้ยงตนเองได้อย่างยั่งยืนต่อไป The intention or important goal of being a higher education institution of the state or called "Non-System University" is to reduce the burden of land that the government provides support in the form of a total credit limit or budget in the Silver (Block Grant) by allowing the higher education institutions to the state of the state. Can be more With the objective of analysis In order to compare the budget of the State Higher Education Institute since 2019 - 2022 and studied the analysis of the budget allocation of Mahidol University From the study, the data analysis will be found in the fiscal year 2022, the university of the state, including 26 agencies, allocated budget of 71,001.2118 million baht, representing 50.57 percent of the budget, the Ministry of Higher Education, Science, Research and Innovation (Ministry Wah) by the Ministry of Ministry, received a budget decreased from 1921 to Baht 1,226.0296 million. Annual fiscal year 2022. Parliamentary Budget Office The Secretariat of the House of Representatives) The university received the highest budget is Mahidol University (13,171.4394 million baht) because the university is a large university. There are many personnel. Divided into 4,012 academic calls and 34.107 support lines, a total of 38,119 people and has many internal segments, including hospitals in the affiliation, such as Siriraj Hospital Ramathibodi Hospital Tropical Vocational Medicine Hospital Dental Hospital and Kanchanaphisek Medical Center From such information It can be seen that Mahidol University, although receiving annual expenditure budget allocation (Government subsidies) the most in Thailand But the university must earn money from Academic service And research to get more than 3 times the budget that has been allocated from the government to allow the university to be self-feed sustainably. 2022-10-25T07:38:26Z 2022-10-25T07:38:26Z 2565-10-25 2564 Article วารสารสหศาสตร์. ปีที่ 22, ฉบับที่ 1 (ม.ค.-มิ.ย. 2565), 37-51 1513-8429 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/79950 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf