ประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารกลวีธีการจัดการกับอาการ และภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหาร กลวีธีการจัดการกับอาการ ภาวะการทําหน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหาร กับภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: กรวรรณ ปานแพ, Korawan Panpae, อรวมน ศรียุกตศุทธ, Aurawamon Sriyuktasuth, ตนา ชวนะสุนทรพจน์, Ratana Chawanasuntorapoj
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/8747
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.8747
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหาร
ภาวะการทําหน้าที่
ผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
กลวิธีการจัดการ
Open Access article
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
spellingShingle ประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหาร
ภาวะการทําหน้าที่
ผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
กลวิธีการจัดการ
Open Access article
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
กรวรรณ ปานแพ
Korawan Panpae
อรวมน ศรียุกตศุทธ
Aurawamon Sriyuktasuth
ตนา ชวนะสุนทรพจน์
Ratana Chawanasuntorapoj
ประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารกลวีธีการจัดการกับอาการ และภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหาร กลวีธีการจัดการกับอาการ ภาวะการทําหน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหาร กับภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์วิธีดําเนินการวิจัย: ศึกษาในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมจํานวน 88 คนที่มารับบริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมที่หน่วยไตเทียม มูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย โรงพยาบาลสงฆ์ เก็บข้อมูลโดยให้ผู้ป่วยตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความอยากอาหาร แบบสอบถามกลวิธีการจัดการกับอาการเบื่ออาหาร และแบบสอบถามภาวะการทําหน้าที่ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารกับภาวะการทําหน้าที่ใช้สูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X = 20, SD = 5.38 จากพิสัยที่เป็นไปได้คือ 8 -40 คะแนน) กลวิธีการจัดการกับอาการเบื่ออาหารที่กลุ่มตัวอย่างปฏิบัติบ่อยที่สุด และมีประสิทธิภาพมากที่สุดคือ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เรียนรู้วิธีการจัดการกับอาการเบื่ออาหารด้วยตนเอง ส่วนภาวะการทําหน้าที่มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X = 41.90, SD = 9.37 จากพิสัยที่เป็นไปได้คือ 0-66 คะแนน) และพบว่าประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหาร มีความสัมพันธ์เชิงลบกับภาวะการทําหน้าที่อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (r = - .23, p = .01) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรให้ความสําคัญกับประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และการจัดการกับอาการเบื่ออาหารที่เหมาะสม เพื่อส่งเสริมภาวะการทําหน้าที่ของร่างกาย
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์
กรวรรณ ปานแพ
Korawan Panpae
อรวมน ศรียุกตศุทธ
Aurawamon Sriyuktasuth
ตนา ชวนะสุนทรพจน์
Ratana Chawanasuntorapoj
format Article
author กรวรรณ ปานแพ
Korawan Panpae
อรวมน ศรียุกตศุทธ
Aurawamon Sriyuktasuth
ตนา ชวนะสุนทรพจน์
Ratana Chawanasuntorapoj
author_sort กรวรรณ ปานแพ
title ประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารกลวีธีการจัดการกับอาการ และภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
title_short ประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารกลวีธีการจัดการกับอาการ และภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
title_full ประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารกลวีธีการจัดการกับอาการ และภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
title_fullStr ประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารกลวีธีการจัดการกับอาการ และภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
title_full_unstemmed ประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารกลวีธีการจัดการกับอาการ และภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
title_sort ประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารกลวีธีการจัดการกับอาการ และภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/8747
_version_ 1763497975619780608
spelling th-mahidol.87472023-03-31T09:00:21Z ประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารกลวีธีการจัดการกับอาการ และภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม Anorexia Experience, Management Strategies, and Functional Status in Chronic Kidney Disease Patients Undergoing Hemodialysis กรวรรณ ปานแพ Korawan Panpae อรวมน ศรียุกตศุทธ Aurawamon Sriyuktasuth ตนา ชวนะสุนทรพจน์ Ratana Chawanasuntorapoj มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะแพทยศาสตร์ ศิริราชพยาบาล. ภาควิชาอายุรศาสตร์ โรงพยาบาลดําเนินสะดวก ประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหาร ภาวะการทําหน้าที่ ผู้ป่วยที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม กลวิธีการจัดการ Open Access article วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหาร กลวีธีการจัดการกับอาการ ภาวะการทําหน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหาร กับภาวะการทําหน้าที่ในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม รูปแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์วิธีดําเนินการวิจัย: ศึกษาในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมจํานวน 88 คนที่มารับบริการฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียมที่หน่วยไตเทียม มูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย โรงพยาบาลสงฆ์ เก็บข้อมูลโดยให้ผู้ป่วยตอบแบบสอบถาม ประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความอยากอาหาร แบบสอบถามกลวิธีการจัดการกับอาการเบื่ออาหาร และแบบสอบถามภาวะการทําหน้าที่ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารกับภาวะการทําหน้าที่ใช้สูตรสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X = 20, SD = 5.38 จากพิสัยที่เป็นไปได้คือ 8 -40 คะแนน) กลวิธีการจัดการกับอาการเบื่ออาหารที่กลุ่มตัวอย่างปฏิบัติบ่อยที่สุด และมีประสิทธิภาพมากที่สุดคือ หลีกเลี่ยงการสูบบุหรี่ กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เรียนรู้วิธีการจัดการกับอาการเบื่ออาหารด้วยตนเอง ส่วนภาวะการทําหน้าที่มีคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง (X = 41.90, SD = 9.37 จากพิสัยที่เป็นไปได้คือ 0-66 คะแนน) และพบว่าประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหาร มีความสัมพันธ์เชิงลบกับภาวะการทําหน้าที่อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (r = - .23, p = .01) สรุปและข้อเสนอแนะ: พยาบาลควรให้ความสําคัญกับประสบการณ์การมีอาการเบื่ออาหารในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังที่ฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม และการจัดการกับอาการเบื่ออาหารที่เหมาะสม เพื่อส่งเสริมภาวะการทําหน้าที่ของร่างกาย Purpose: To investigate the anorexia experience, management strategies, and functional status in chronic kidney disease patients undergoing hemodialysis as well as determine the relationship between anorexia experience and functional status.Design: Descriptive correlational study.Methods: The sample included 88 chronic kidney disease patients undergoing hemodialysis at the hemodialysis unit, the Kidney Foundation of Thailand, Priest Hospital. Data were collected by questionnaires on demographic characteristics, the Council on Nutrition Appetite Questionnaire, anorexia management strategies, and the Thai-Modified Function Living Index. Pearsons’ product moment correlation coefficient was used to analyze the relationship between anorexia experience and functional status.Main findings: Anorexia experience of the sample was at a moderate level (X = 20, SD = 5.38, with a range from 8-40). The most frequently used anorexia management strategy was avoidance of smoking, and it was an effective means to relieve anorexia and that most of the subjects learned to manage their anorexia by themselves. In addition, the subjects’ mean score of the overall functional status was at a moderate level (X = 41.90, SD = 9.37, with a range from 0-66), and the results showed that the anorexia experience was negatively correlated with functional status (r = - .23, p = .01).Conclusion and recommendations: Nurses should pay attention to the anorexia experience in chronic kidney disease patients undergoing hemodialysis and appropriately manage the symptom to promote patient’s functional status. 2018-02-19T09:31:47Z 2018-02-19T09:31:47Z 2018-02-19 2554 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 29 (ฉ. เพิ่มเติม 2), ฉบับที่ 3 (ก.ค - ก.ย. 2554), 59-66 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/8747 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf