Migration duration and household asset change in Kanchanaburi demographic surveillance system, Thailand
การย้ายถิ่นของสมาชิกครัวเรือนเพื่อการทำงานต่างถิ่น เป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตและโอกาสทางเศรษฐกิจของผู้ย้ายถิ่นและครัวเรือน การย้ายถิ่นในระยะเวลานานต่างกัน อาจส่งผลที่แตกต่างต่อการเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินของครัวเรือนของผู้ย้ายถิ่นนั้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการย...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Language: | English |
Published: |
Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center
2023
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/89330 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | English |
id |
th-mahidol.89330 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.893302023-09-05T12:54:06Z Migration duration and household asset change in Kanchanaburi demographic surveillance system, Thailand ระยะเวลาย้ายถิ่นกับการเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินครัวเรือนในระบบเฝ้าระวังทางประชากรกาญจนบุรี Saranya Sucharitakul Sureeporn Punpuing Guest, Philip Aree Jampaklay Asset allocation Emigration and Immigration -- Thailand -- Kanchanaburi -- Economic Aspects การย้ายถิ่นของสมาชิกครัวเรือนเพื่อการทำงานต่างถิ่น เป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตและโอกาสทางเศรษฐกิจของผู้ย้ายถิ่นและครัวเรือน การย้ายถิ่นในระยะเวลานานต่างกัน อาจส่งผลที่แตกต่างต่อการเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินของครัวเรือนของผู้ย้ายถิ่นนั้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการย้ายถิ่นออกรวมถึงระยะเวลาการย้ายถิ่นที่มีต่อการ เปลี่ยนแปลงทรัพย์สินของครัวเรือน การศึกษานี้ใช้ข้อมูลของครัวเรือนที่ได้ให้สัมภาษณ์ต่อ โครงการกาญจนบุรีต่อเนื่อง 5 ปี ซึ่งมีประโยชน์มากต่อการศึกษาทรัพย์สินครัวเรือนที่เปลี่ยนแปลง หลังจากผ่านช่วงเวลาหนึ่ง โดยข้อมูลประวัติการย้ายถิ่นของสมาชิกในครัวเรือนในช่วงเวลาที่ สอดคล้องกันนับเป็นปัจจัยสำคัญที่นำมาศึกษาผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินนั้น จากผลการศึกษา พบว่าระยะเวลาของการย้ายถิ่นออกของสมาชิกครัวเรือน มีผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินกลุ่มที่ใช้เพื่อการอุปโภคทั่วไป และทรัพย์สินกลุ่มที่ก่อให้เกิดรายได้ อย่าง มีนัยสำคัญ ครัวเรือนที่มีสมาชิกย้ายถิ่นออกในช่วงเวลาที่นานกว่ามีแนวโน้มที่จะมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้น น้อยกว่าครัวเรือนที่มีสมาชิกย้ายถิ่นออกในช่วงเวลาที่สั้นกว่า ผลการศึกษานี้ทำให้ได้ข้อเสนอแนะ ว่าควรส่งเสริมให้ประชาชนทำงานภายในท้องถิ่นของตน และหากครัวเรือนมีความจำเป็นต้องย้าย ถิ่นไปทำงานที่อื่นก็ควรย้ายเป็นระยะเวลาสั้นจะส่งผลต่อเศรษฐกิจครัวเรือนดีกว่าย้ายเป็นเวลานาน ผลการศึกษามีประโยชน์ต่อนโยบายลดความยากจนและนโยบายพัฒนาชนบท 2023-09-05T02:21:35Z 2023-09-05T02:21:35Z 2010 2010 2023 Thesis (Ph.D. (Demography))--Mahidol University, 2010 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/89330 eng Mahidol University xi, 78 leaves : ill. application/pdf Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
English |
topic |
Asset allocation Emigration and Immigration -- Thailand -- Kanchanaburi -- Economic Aspects |
spellingShingle |
Asset allocation Emigration and Immigration -- Thailand -- Kanchanaburi -- Economic Aspects Saranya Sucharitakul Migration duration and household asset change in Kanchanaburi demographic surveillance system, Thailand |
description |
การย้ายถิ่นของสมาชิกครัวเรือนเพื่อการทำงานต่างถิ่น เป็นกลยุทธ์หนึ่งที่ส่งผลต่อ คุณภาพชีวิตและโอกาสทางเศรษฐกิจของผู้ย้ายถิ่นและครัวเรือน การย้ายถิ่นในระยะเวลานานต่างกัน อาจส่งผลที่แตกต่างต่อการเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินของครัวเรือนของผู้ย้ายถิ่นนั้น วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของการย้ายถิ่นออกรวมถึงระยะเวลาการย้ายถิ่นที่มีต่อการ เปลี่ยนแปลงทรัพย์สินของครัวเรือน การศึกษานี้ใช้ข้อมูลของครัวเรือนที่ได้ให้สัมภาษณ์ต่อ โครงการกาญจนบุรีต่อเนื่อง 5 ปี ซึ่งมีประโยชน์มากต่อการศึกษาทรัพย์สินครัวเรือนที่เปลี่ยนแปลง หลังจากผ่านช่วงเวลาหนึ่ง โดยข้อมูลประวัติการย้ายถิ่นของสมาชิกในครัวเรือนในช่วงเวลาที่ สอดคล้องกันนับเป็นปัจจัยสำคัญที่นำมาศึกษาผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินนั้น จากผลการศึกษา พบว่าระยะเวลาของการย้ายถิ่นออกของสมาชิกครัวเรือน มีผลกระทบต่อ การเปลี่ยนแปลงทรัพย์สินกลุ่มที่ใช้เพื่อการอุปโภคทั่วไป และทรัพย์สินกลุ่มที่ก่อให้เกิดรายได้ อย่าง มีนัยสำคัญ ครัวเรือนที่มีสมาชิกย้ายถิ่นออกในช่วงเวลาที่นานกว่ามีแนวโน้มที่จะมีทรัพย์สินเพิ่มขึ้น น้อยกว่าครัวเรือนที่มีสมาชิกย้ายถิ่นออกในช่วงเวลาที่สั้นกว่า ผลการศึกษานี้ทำให้ได้ข้อเสนอแนะ ว่าควรส่งเสริมให้ประชาชนทำงานภายในท้องถิ่นของตน และหากครัวเรือนมีความจำเป็นต้องย้าย ถิ่นไปทำงานที่อื่นก็ควรย้ายเป็นระยะเวลาสั้นจะส่งผลต่อเศรษฐกิจครัวเรือนดีกว่าย้ายเป็นเวลานาน ผลการศึกษามีประโยชน์ต่อนโยบายลดความยากจนและนโยบายพัฒนาชนบท |
author2 |
Sureeporn Punpuing |
author_facet |
Sureeporn Punpuing Saranya Sucharitakul |
author |
Saranya Sucharitakul |
author_sort |
Saranya Sucharitakul |
title |
Migration duration and household asset change in Kanchanaburi demographic surveillance system, Thailand |
title_short |
Migration duration and household asset change in Kanchanaburi demographic surveillance system, Thailand |
title_full |
Migration duration and household asset change in Kanchanaburi demographic surveillance system, Thailand |
title_fullStr |
Migration duration and household asset change in Kanchanaburi demographic surveillance system, Thailand |
title_full_unstemmed |
Migration duration and household asset change in Kanchanaburi demographic surveillance system, Thailand |
title_sort |
migration duration and household asset change in kanchanaburi demographic surveillance system, thailand |
publisher |
Mahidol University. Mahidol University Library and Knowledge Center |
publishDate |
2023 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/89330 |
_version_ |
1781414819350446080 |