ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ

วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุรูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียว ประเมินก่อนและหลังการทดลอง วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุตรอกข้าวเม่า จํานวน 43 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์, Liwan Ounnapiruk, วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Virapun Wirojratana, วรรณา คงสุริยะนาวิน, Wanna Kongsuriyanavin, วิลาสินี เติมเศรษฐเจริญ, Wilasinee Termsettajaroen
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/9907
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.9907
record_format dspace
spelling th-mahidol.99072023-03-30T18:08:50Z ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ The Effectiveness of a Health Promotion Program on Quality of Life of Elderly People in the Elderly Club ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์ Liwan Ounnapiruk วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์ Virapun Wirojratana วรรณา คงสุริยะนาวิน Wanna Kongsuriyanavin วิลาสินี เติมเศรษฐเจริญ Wilasinee Termsettajaroen มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์. ภาควิชาการพยาบาลรากฐาน ผู้สูงอายุ ชมรมผู้สูงอายุ โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ คุณภาพชีวิต วารสารพยาบาลศาสตร์ Journal of Nursing Science วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุรูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียว ประเมินก่อนและหลังการทดลอง วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุตรอกข้าวเม่า จํานวน 43 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล การรับรู้ภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ การดําเนินชีวิต และแบบวัดคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ กรอบแนวคิดของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ ทฤษฎีความสามารถตนเองและแนวคิดคุณภาพชีวิตครอบคลุมด้านร่างกาย จิตใจ ความสัมพันธ์ทางสังคมและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมของโปรแกรมประกอบด้วย การบรรยายการส่งเสริมสุขภาพ กระบวนการกลุ่ม วิเคราะห์ปัญหา หาแนวทางแก้ไข พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ สาธิตและฝึกปฏิบัติ การดําเนินโปรแกรมใช้เวลานาน 2 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบที และไคร์สแควร์ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีคุณภาพชีวิตโดยรวมระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯ ไม่มีความแตกต่างกัน (p > .05) แต่คุณภาพชีวิตด้านร่างกาย และการรับรู้ภาวะสุขภาพดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ (ร้อยละ 83.33) มีความพึงพอใจมากกับโปรแกรมฯสรุปและข้อเสนอแนะ: โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ มีความสําคัญและจําเป็นต้องทําอย่างต่อเนื่อง เพื่อนําสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุอย่างยั่งยืนต่อไป Purpose: This study examined the effects of a Health Promotion Program on quality of life of elderly people in the elderly club.Design: Quasi-experimental research, one-group pretest-posttest design.Methods: The participants included 43 elders who had been regularly participating in the elderlyclub of Trok Khao Mao. Data were collected by using an interviewing questionnaire asking demographiccharacteristics, perceived health status, health behaviors, and lifestyles, and a questionnaire of elderly’squality of life. A Health Promotion Program was developed by applying self-efficacy theory andintegrating four domains of quality of life (physical, mental, social, environment). In this program, theparticipants involved in the activities related to health education, group counseling, discussion,demonstration and practice. The program was carried out for 2 months, and then evaluated foroutcomes. Data were analyzed using descriptive statistics, paired t-test and chi-square test.Main findings: The total scores of quality of life of the participants before and after participatingin this program were not significantly different except physical aspect of quality of life (p < .05). In addition, the participants perceived that their health status after the program was significantly betterthan prior to the program (p < .05). Most participants (83.33 %) reported that the program was verysatisfactory.Conclusion and recommendations: A Health Promotion Program is extremely important for theelderly to modify their health behaviors. The necessity to continue this program is evident to sustaingood quality of life for elderly people in the elderly club. โครงการวิจัยนี้ได้รับทุนสนับสนุนจากแผนงานพัฒนาเครือข่ายพยาบาลศาสตร์เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ (พย.สสส.) 2018-02-27T09:11:24Z 2018-02-27T09:11:24Z 2018-02-27 2555 Article วารสารพยาบาลศาสตร์. ปีที่ 30, ฉบับที่ 1 (เม.ย. -มิ.ย. 2555), 35-45 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/9907 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ผู้สูงอายุ
ชมรมผู้สูงอายุ
โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ
คุณภาพชีวิต
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
spellingShingle ผู้สูงอายุ
ชมรมผู้สูงอายุ
โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ
คุณภาพชีวิต
วารสารพยาบาลศาสตร์
Journal of Nursing Science
ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์
Liwan Ounnapiruk
วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์
Virapun Wirojratana
วรรณา คงสุริยะนาวิน
Wanna Kongsuriyanavin
วิลาสินี เติมเศรษฐเจริญ
Wilasinee Termsettajaroen
ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ
description วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุรูปแบบการวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียว ประเมินก่อนและหลังการทดลอง วิธีดําเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นสมาชิกชมรมผู้สูงอายุตรอกข้าวเม่า จํานวน 43 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล การรับรู้ภาวะสุขภาพ พฤติกรรมสุขภาพ การดําเนินชีวิต และแบบวัดคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ กรอบแนวคิดของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพ ได้แก่ ทฤษฎีความสามารถตนเองและแนวคิดคุณภาพชีวิตครอบคลุมด้านร่างกาย จิตใจ ความสัมพันธ์ทางสังคมและสิ่งแวดล้อม กิจกรรมของโปรแกรมประกอบด้วย การบรรยายการส่งเสริมสุขภาพ กระบวนการกลุ่ม วิเคราะห์ปัญหา หาแนวทางแก้ไข พูดคุยแลกเปลี่ยนประสบการณ์ สาธิตและฝึกปฏิบัติ การดําเนินโปรแกรมใช้เวลานาน 2 เดือน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การทดสอบที และไคร์สแควร์ผลการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างมีคุณภาพชีวิตโดยรวมระหว่างก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฯ ไม่มีความแตกต่างกัน (p > .05) แต่คุณภาพชีวิตด้านร่างกาย และการรับรู้ภาวะสุขภาพดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรมฯ อย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p < .05) ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ (ร้อยละ 83.33) มีความพึงพอใจมากกับโปรแกรมฯสรุปและข้อเสนอแนะ: โปรแกรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ มีความสําคัญและจําเป็นต้องทําอย่างต่อเนื่อง เพื่อนําสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุอย่างยั่งยืนต่อไป
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะพยาบาลศาสตร์
ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์
Liwan Ounnapiruk
วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์
Virapun Wirojratana
วรรณา คงสุริยะนาวิน
Wanna Kongsuriyanavin
วิลาสินี เติมเศรษฐเจริญ
Wilasinee Termsettajaroen
format Article
author ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์
Liwan Ounnapiruk
วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์
Virapun Wirojratana
วรรณา คงสุริยะนาวิน
Wanna Kongsuriyanavin
วิลาสินี เติมเศรษฐเจริญ
Wilasinee Termsettajaroen
author_sort ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์
title ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ
title_short ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ
title_full ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ
title_fullStr ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ
title_full_unstemmed ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ
title_sort ประสิทธิผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/9907
_version_ 1763487667674152960