ภาษาอ็อกซิตาน
บทความเรื่องภาษาอ็อกซิตาน เสนอเรื่องราวของภาษาอ็อกซิตานซึ่งเป็นภาษาที่ผู้คน ทางตอนใต้ของฝรั่งเศสใช้สืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยยุคกลางของทวีปยุโรป และเป็นภาษาที่ พัฒนามาจากภาษาละตินคลาสสิค ในทางภาษาศาสตร์ภาษาอ็อกซิตานเป็นภาษาหนึ่งใน กลุ่มภาษาโรมานซ์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มภาษาอ็อกซิตานเหนือ ไ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Article |
Language: | Thai |
Published: |
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/9935 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Mahidol University |
Language: | Thai |
id |
th-mahidol.9935 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-mahidol.99352023-04-12T15:20:54Z ภาษาอ็อกซิตาน ภณิดา โรซเซท์ ภัททิยา ยิมเรวัต มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์ ภาษาอ็อกซิตาน ภาษาละติน ภาษาท้องถิ่น The Journal บทความเรื่องภาษาอ็อกซิตาน เสนอเรื่องราวของภาษาอ็อกซิตานซึ่งเป็นภาษาที่ผู้คน ทางตอนใต้ของฝรั่งเศสใช้สืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยยุคกลางของทวีปยุโรป และเป็นภาษาที่ พัฒนามาจากภาษาละตินคลาสสิค ในทางภาษาศาสตร์ภาษาอ็อกซิตานเป็นภาษาหนึ่งใน กลุ่มภาษาโรมานซ์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มภาษาอ็อกซิตานเหนือ ได้แก่ ภาษาถิ่นลิมูแซ็ง โอแวร์ญาต์ และโพรว็องซาล-อัลแป็ง กลุ่มภาษาอ็อกซิตานใต้ หรือ กลาง แยกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ ภาษาถิ่นล็องเกอด็อกเซียงและโพรว็องซาล และภาษา กาสก็ง ปัจจุบันได้มีการพัฒนาระบบการเขียนภาษาอ็อกซิตานขึ้นและใช้ในการเขียนภาษา อ็อกซิตานถิ่นทุกภาษา และยังเป็นระบบที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษาอ็อกซิตานด้วย แม้ว่า ภาษาอ็อกซิตานจะไม่มีบทบาทสำคัญเช่นสมัยก่อน แต่ก็ยังมีผู้พูดสืบต่อกันเรื่อยมาจนทุก วันนี้ และเพื่อให้สอดคล้องกับกระแสสังคมปัจจุบันที่สนับสนุนความหลากหลายทางภาษา และวัฒนธรรม สถาบันการศึกษาตลอดจนหน่วยงานท้องถิ่นในหลายพื้นที่ก็ได้จัดการเรียนการสอนภาษาอ็อกซิตานให้กับผู้สนใจ รวมทั้งมีการจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์ โดยใช้ภาษา อ็อกซิตานควบคู่ไปกับการออกหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นอีกด้วย ทั้งนี้เพื่อเป็นการอนุรักษ์และ สืบทอดภาษาอ็อกซิตานให้คงอยู่เป็นมรดกวัฒนธรรมของชาติที่สำคัญ This article concerns Occitan, a language that has been spoken by people in Southern France since the medieval times. Occitan is developed from Classic Latin of the Romans in the Roman Empire. Linguistically, it is a Romance language. Occitan is divided into 3 subgroups: Northern Occitan including Limousin, Auvergnat, and ProvenCal-Alpin; Central or Southern Occitan encompassing Langue d’oc and ProvenCal; and Gascon. Although Occitan is not an influential language nowadays, it continues to be used and passed on from generation to generation. With the flow of linguistic and cultural diversity, educational institutions along with local governments have organized the teaching of Occitan for interested people. In an effort to maintain Occitan as their cultural heritage, they have also broadcast on radio and television as well as published news articles in Occitan. 2018-03-07T03:13:12Z 2018-03-07T03:13:12Z 2561-03 2551 Article The Journal. ปีที่ 4, ฉบับที่ 1 (2551), 91-104 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/9935 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf |
institution |
Mahidol University |
building |
Mahidol University Library |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Mahidol University Library |
collection |
Mahidol University Institutional Repository |
language |
Thai |
topic |
ภาษาอ็อกซิตาน ภาษาละติน ภาษาท้องถิ่น The Journal |
spellingShingle |
ภาษาอ็อกซิตาน ภาษาละติน ภาษาท้องถิ่น The Journal ภณิดา โรซเซท์ ภัททิยา ยิมเรวัต ภาษาอ็อกซิตาน |
description |
บทความเรื่องภาษาอ็อกซิตาน เสนอเรื่องราวของภาษาอ็อกซิตานซึ่งเป็นภาษาที่ผู้คน
ทางตอนใต้ของฝรั่งเศสใช้สืบต่อกันมาตั้งแต่สมัยยุคกลางของทวีปยุโรป และเป็นภาษาที่
พัฒนามาจากภาษาละตินคลาสสิค ในทางภาษาศาสตร์ภาษาอ็อกซิตานเป็นภาษาหนึ่งใน
กลุ่มภาษาโรมานซ์ แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มย่อย คือ กลุ่มภาษาอ็อกซิตานเหนือ ได้แก่
ภาษาถิ่นลิมูแซ็ง โอแวร์ญาต์ และโพรว็องซาล-อัลแป็ง กลุ่มภาษาอ็อกซิตานใต้ หรือ
กลาง แยกเป็น 2 กลุ่มย่อย คือ ภาษาถิ่นล็องเกอด็อกเซียงและโพรว็องซาล และภาษา
กาสก็ง ปัจจุบันได้มีการพัฒนาระบบการเขียนภาษาอ็อกซิตานขึ้นและใช้ในการเขียนภาษา
อ็อกซิตานถิ่นทุกภาษา และยังเป็นระบบที่ใช้ในการเรียนการสอนภาษาอ็อกซิตานด้วย แม้ว่า
ภาษาอ็อกซิตานจะไม่มีบทบาทสำคัญเช่นสมัยก่อน แต่ก็ยังมีผู้พูดสืบต่อกันเรื่อยมาจนทุก
วันนี้ และเพื่อให้สอดคล้องกับกระแสสังคมปัจจุบันที่สนับสนุนความหลากหลายทางภาษา
และวัฒนธรรม สถาบันการศึกษาตลอดจนหน่วยงานท้องถิ่นในหลายพื้นที่ก็ได้จัดการเรียนการสอนภาษาอ็อกซิตานให้กับผู้สนใจ รวมทั้งมีการจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์ โดยใช้ภาษา
อ็อกซิตานควบคู่ไปกับการออกหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นอีกด้วย ทั้งนี้เพื่อเป็นการอนุรักษ์และ
สืบทอดภาษาอ็อกซิตานให้คงอยู่เป็นมรดกวัฒนธรรมของชาติที่สำคัญ |
author2 |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์ |
author_facet |
มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์ ภณิดา โรซเซท์ ภัททิยา ยิมเรวัต |
format |
Article |
author |
ภณิดา โรซเซท์ ภัททิยา ยิมเรวัต |
author_sort |
ภณิดา โรซเซท์ |
title |
ภาษาอ็อกซิตาน |
title_short |
ภาษาอ็อกซิตาน |
title_full |
ภาษาอ็อกซิตาน |
title_fullStr |
ภาษาอ็อกซิตาน |
title_full_unstemmed |
ภาษาอ็อกซิตาน |
title_sort |
ภาษาอ็อกซิตาน |
publishDate |
2018 |
url |
https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/9935 |
_version_ |
1781414823375929344 |