ตัวละครผู้ช่วยเหลือในนิทานวัดเกาะ

บทความเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวละครผู้ช่วยเหลือประเภทต่างๆ บทบาทของตัวละครผู้ช่วยเหลือ และความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครผู้ช่วยเหลือและการดำเนินเรื่่อง เพื่่อให้เห็นภาพรวมทางความคิด จินตนาการและทัศนะของผู้แต่งในการสร้างสรรค์นิทานวัดเกาะ จากการศึกษาพบว่าตัวละครผู้ช่วยเหลือสามารถจำแนกได้เป็น...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: น้ำมนต์ อยู่อินทร์
Other Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์
Format: Article
Language:Thai
Published: 2018
Subjects:
Online Access:https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/9940
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Mahidol University
Language: Thai
id th-mahidol.9940
record_format dspace
institution Mahidol University
building Mahidol University Library
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Mahidol University Library
collection Mahidol University Institutional Repository
language Thai
topic ตัวละคร
นิทานวัดเกาะ
The Journal
spellingShingle ตัวละคร
นิทานวัดเกาะ
The Journal
น้ำมนต์ อยู่อินทร์
ตัวละครผู้ช่วยเหลือในนิทานวัดเกาะ
description บทความเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวละครผู้ช่วยเหลือประเภทต่างๆ บทบาทของตัวละครผู้ช่วยเหลือ และความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครผู้ช่วยเหลือและการดำเนินเรื่่อง เพื่่อให้เห็นภาพรวมทางความคิด จินตนาการและทัศนะของผู้แต่งในการสร้างสรรค์นิทานวัดเกาะ จากการศึกษาพบว่าตัวละครผู้ช่วยเหลือสามารถจำแนกได้เป็น 2 กลุ่มหลักคือ ตัวละครผู้ช่วยเหลือที่ปรากฏบทบาทแล้วหายไป และตัวละครผู้ช่วยเหลือที่ปรากฏบทบาทต่อเนื่องหลายครั้งหรือเกือบตลอดทั้งเรื่่อง ซึ่่งมีทั้งตัวละครผู้ช่วยเหลือที่เป็นมนุษย์และอมนุษย์ ตัวละครที่เป็นมนุษย์จำแนกได้เป็น 4 กลุ่ม คือ ชาวบ้านทั่วไป ข้าราชการ กษัตริย์และผู้ทรงศีล ส่วนตัวละครที่เป็นอมนุษย์จำแนกได้เป็น 6 ประเภท คือ เทพหรือเทพธิดา ผีหรือวิญญาณ ยักษ์ พวกครึ่งคนครึ่งสัตว์ สัตว์ และตัวละครที่สร้างขึ้นจากจินตนาการ โดยเฉพาะกลุ่มที่เป็นผี ยักษ์ สัตว์และตัวละครที่สร้างขึ้นจากจิตนำการเป็นกลุ่มที่มีความหลากหลายและเป็นกลุ่มที่ผู้แต่งใช้จินตนาการในการสร้างสรรค์ตัวละครไว้อย่างน่าสนใจ บทบาทของตัวละครผู้ช่วยเหลือที่ปรากฏในเรื่องจำแนกได้ 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 เป็นตัวละครผู้ช่วยเหลือในยามที่ตัวละครเอกตกอยู่ในภาวะคับขันหรือได้รับอันตราย กลุ่มที่ 2 เป็นผู้ช่วยเหลือในเรื่องความรักหรือชีวิตคู่ กลุ่มที่ 3 เป็นผู้ช่วยเหลือในการทำสงคราม และกลุ่มที่ 4 เป็นผู้ช่วยเหลือในกรณีอื่นๆ ในส่วนของการดำเนินเรื่องผู้แต่งสร้างให้ตัวละครผู้ช่วยเหลือช่วยให้เนื้อเรื่องดำเนินต่อไปได้และผู้แต่งสร้างตัวละครผู้ช่วยเหลือให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่องที่นำเสนอว่าเรื่องนั้นๆ ด้ำเนินไปอย่างไร ฉาก และสถานที่ในเรื่องเป็นที่ไหน แล้วจึงสร้างสรรค์ตัวละครผู้ช่วยเหลือให้สอดคล้องกับสถานที่ เช่น ฉากเป็นป่า ตัวละครผู้ช่วยเหลือก็มักจะเป็นสัตว์ เช่น ม้า นก ลิง หรือฉากที่เป็นน้ำ ตัวละครผู้ช่วยเหลือก็มักจะเป็นสัตว์ เช่น นาค เงือก หรือผีพราย ที่สามารถอาศัยอยู่ในน้ำได้ การศึกษาตัวละครผู้ช่วยเหลือที่ปรากฏในนิทำนวัดเกาะในครั้งนี ทำให้เห็นแง่คิดและมุมมองที่เกี่ยวกับชีวิตและสังคมไทยได้หลายประการ อาทิ แง่คิดเรื่องผู้อุปถัมภ์ ในนิทำนวัดเกาะเมื่อพระเอกหรือนางเอกตกอยู่ในภาวะที่คับขันก็มักจะมีตัวละครผู้ช่วยเหลือ เช่น ฤๅษี พระอินทร์ ฯลฯ เข้ามาช่วยคลี่คลายปัญหาและช่วยทำให้ตัวเอกรอดพ้นจากอันตรายต่างๆ ซึ่งสิ่งนี น่าจะสะท้อนความคิดบางอย่างที่ปรากฏอยู่ในชีวิตจริงของคนในสังคม คือในยามที่ชีวิตตกอยู่ในภาวะคับขันก็มักจะมีผู้ช่วยแก้ไขปัญหาหรือช่วยท้าให้ปัญหาเหล่ำนั้นคลี่คลายไปได้ ซึ่งเทียบได้กับตัวละครผู้ช่วยเหลือที่ปรากฏในนิทำนวัดเกาะนั่นเอง หรือในชีวิตจริงคนเราอาจจะต้องเผชิญกับปัญหาหรืออุปสรรคหลายอย่าง หลายครั้งที่ลำพังตัวคนเดียวไม่สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ เหล่านั้นได้ แต่ก็จะพบว่าเหตุการณ์เลวร้ายหรืออุปสรรคต่างๆ สามารถคลี่คลายหรือผ่านพ้นไปด้วยดีเพราะมีผู้ช่วยเหลือ ตัวละครผู้ช่วยเหลือในนิทานจึงน่าจะเปรียบเสมือนผู้ที่เข้ามาช่วยเหลือในชีวิตจริงของมนุษย์ ซึ่งก็มีทั้งที่ช่วยเหลือเป็นครั้งคราวหรือเป็นผู้ช่วยเหลือที่คอยอุปถัมภ์บุคคลนั้นอยู่ตลอดเวลา หรือแง่คิดเรื่อง “คนดีผีคุ้ม” ที่ทำให้เราเข้าใจกระบวนคิดของคนในสังคมไทยที่ถ่ายทอดผ่านนิทาน คนไทยมีความเชื่อว่า “คนดี” เมื่อตกอยู่ในภาวะคับขัน อันตราย ก็มักจะมีเทวดาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์คอยปกป้องคุ้มครองให้คนผู้นั้นปลอดภัยอยู่เสมอ
author2 มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์
author_facet มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์
น้ำมนต์ อยู่อินทร์
format Article
author น้ำมนต์ อยู่อินทร์
author_sort น้ำมนต์ อยู่อินทร์
title ตัวละครผู้ช่วยเหลือในนิทานวัดเกาะ
title_short ตัวละครผู้ช่วยเหลือในนิทานวัดเกาะ
title_full ตัวละครผู้ช่วยเหลือในนิทานวัดเกาะ
title_fullStr ตัวละครผู้ช่วยเหลือในนิทานวัดเกาะ
title_full_unstemmed ตัวละครผู้ช่วยเหลือในนิทานวัดเกาะ
title_sort ตัวละครผู้ช่วยเหลือในนิทานวัดเกาะ
publishDate 2018
url https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/9940
_version_ 1781415129451069440
spelling th-mahidol.99402023-04-12T15:20:55Z ตัวละครผู้ช่วยเหลือในนิทานวัดเกาะ น้ำมนต์ อยู่อินทร์ มหาวิทยาลัยมหิดล. คณะศิลปศาสตร์ ตัวละคร นิทานวัดเกาะ The Journal บทความเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาตัวละครผู้ช่วยเหลือประเภทต่างๆ บทบาทของตัวละครผู้ช่วยเหลือ และความสัมพันธ์ระหว่างตัวละครผู้ช่วยเหลือและการดำเนินเรื่่อง เพื่่อให้เห็นภาพรวมทางความคิด จินตนาการและทัศนะของผู้แต่งในการสร้างสรรค์นิทานวัดเกาะ จากการศึกษาพบว่าตัวละครผู้ช่วยเหลือสามารถจำแนกได้เป็น 2 กลุ่มหลักคือ ตัวละครผู้ช่วยเหลือที่ปรากฏบทบาทแล้วหายไป และตัวละครผู้ช่วยเหลือที่ปรากฏบทบาทต่อเนื่องหลายครั้งหรือเกือบตลอดทั้งเรื่่อง ซึ่่งมีทั้งตัวละครผู้ช่วยเหลือที่เป็นมนุษย์และอมนุษย์ ตัวละครที่เป็นมนุษย์จำแนกได้เป็น 4 กลุ่ม คือ ชาวบ้านทั่วไป ข้าราชการ กษัตริย์และผู้ทรงศีล ส่วนตัวละครที่เป็นอมนุษย์จำแนกได้เป็น 6 ประเภท คือ เทพหรือเทพธิดา ผีหรือวิญญาณ ยักษ์ พวกครึ่งคนครึ่งสัตว์ สัตว์ และตัวละครที่สร้างขึ้นจากจินตนาการ โดยเฉพาะกลุ่มที่เป็นผี ยักษ์ สัตว์และตัวละครที่สร้างขึ้นจากจิตนำการเป็นกลุ่มที่มีความหลากหลายและเป็นกลุ่มที่ผู้แต่งใช้จินตนาการในการสร้างสรรค์ตัวละครไว้อย่างน่าสนใจ บทบาทของตัวละครผู้ช่วยเหลือที่ปรากฏในเรื่องจำแนกได้ 4 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 เป็นตัวละครผู้ช่วยเหลือในยามที่ตัวละครเอกตกอยู่ในภาวะคับขันหรือได้รับอันตราย กลุ่มที่ 2 เป็นผู้ช่วยเหลือในเรื่องความรักหรือชีวิตคู่ กลุ่มที่ 3 เป็นผู้ช่วยเหลือในการทำสงคราม และกลุ่มที่ 4 เป็นผู้ช่วยเหลือในกรณีอื่นๆ ในส่วนของการดำเนินเรื่องผู้แต่งสร้างให้ตัวละครผู้ช่วยเหลือช่วยให้เนื้อเรื่องดำเนินต่อไปได้และผู้แต่งสร้างตัวละครผู้ช่วยเหลือให้สอดคล้องกับเนื้อเรื่องที่นำเสนอว่าเรื่องนั้นๆ ด้ำเนินไปอย่างไร ฉาก และสถานที่ในเรื่องเป็นที่ไหน แล้วจึงสร้างสรรค์ตัวละครผู้ช่วยเหลือให้สอดคล้องกับสถานที่ เช่น ฉากเป็นป่า ตัวละครผู้ช่วยเหลือก็มักจะเป็นสัตว์ เช่น ม้า นก ลิง หรือฉากที่เป็นน้ำ ตัวละครผู้ช่วยเหลือก็มักจะเป็นสัตว์ เช่น นาค เงือก หรือผีพราย ที่สามารถอาศัยอยู่ในน้ำได้ การศึกษาตัวละครผู้ช่วยเหลือที่ปรากฏในนิทำนวัดเกาะในครั้งนี ทำให้เห็นแง่คิดและมุมมองที่เกี่ยวกับชีวิตและสังคมไทยได้หลายประการ อาทิ แง่คิดเรื่องผู้อุปถัมภ์ ในนิทำนวัดเกาะเมื่อพระเอกหรือนางเอกตกอยู่ในภาวะที่คับขันก็มักจะมีตัวละครผู้ช่วยเหลือ เช่น ฤๅษี พระอินทร์ ฯลฯ เข้ามาช่วยคลี่คลายปัญหาและช่วยทำให้ตัวเอกรอดพ้นจากอันตรายต่างๆ ซึ่งสิ่งนี น่าจะสะท้อนความคิดบางอย่างที่ปรากฏอยู่ในชีวิตจริงของคนในสังคม คือในยามที่ชีวิตตกอยู่ในภาวะคับขันก็มักจะมีผู้ช่วยแก้ไขปัญหาหรือช่วยท้าให้ปัญหาเหล่ำนั้นคลี่คลายไปได้ ซึ่งเทียบได้กับตัวละครผู้ช่วยเหลือที่ปรากฏในนิทำนวัดเกาะนั่นเอง หรือในชีวิตจริงคนเราอาจจะต้องเผชิญกับปัญหาหรืออุปสรรคหลายอย่าง หลายครั้งที่ลำพังตัวคนเดียวไม่สามารถแก้ไขปัญหาต่างๆ เหล่านั้นได้ แต่ก็จะพบว่าเหตุการณ์เลวร้ายหรืออุปสรรคต่างๆ สามารถคลี่คลายหรือผ่านพ้นไปด้วยดีเพราะมีผู้ช่วยเหลือ ตัวละครผู้ช่วยเหลือในนิทานจึงน่าจะเปรียบเสมือนผู้ที่เข้ามาช่วยเหลือในชีวิตจริงของมนุษย์ ซึ่งก็มีทั้งที่ช่วยเหลือเป็นครั้งคราวหรือเป็นผู้ช่วยเหลือที่คอยอุปถัมภ์บุคคลนั้นอยู่ตลอดเวลา หรือแง่คิดเรื่อง “คนดีผีคุ้ม” ที่ทำให้เราเข้าใจกระบวนคิดของคนในสังคมไทยที่ถ่ายทอดผ่านนิทาน คนไทยมีความเชื่อว่า “คนดี” เมื่อตกอยู่ในภาวะคับขัน อันตราย ก็มักจะมีเทวดาหรือสิ่งศักดิ์สิทธิ์คอยปกป้องคุ้มครองให้คนผู้นั้นปลอดภัยอยู่เสมอ The article studies about different types of protagonist’s helpers, their roles, and the connection between helpers and the storyline in order to understand concepts, attitudes and imagination the author uses to create the folktales of Wat Koh. According to the study, protagonist’s helpers can be divided into two main categories that are temporary helpers and recurring helpers. In the folktales of Wat Koh, the helpers are found to be either human or un-human creatures. Human helpers can be divided into four groups: common villagers, officers, royalties and clergymen. On the other hand, un-human helpers can be sorted into six groups that are deities, spirits, ogres, therianthropes (half human, half beast) and imaginary creatures. Among un-human helpers, spirits, ogres and imaginary creatures are most diverse and are interestingly shaped by the author. The roles of helpers in the folktales of Wat Koh can be categorized into 4 groups. The first group of helpers is helpers who support the protagonist during critical moments or those who help the protagonist out of danger. The second group is helpers who support the protagonist in romantic affairs. The third group is helpers who support the protagonist in wars. The last group is helpers who support the protagonist in other circumstances. As for the storyline, the author creates helpers to contribute to the development of the story. The characteristics of helpers are created to be in accordance with the plot and setting of the story. For example, if the story happens in the wood, helpers are mostly animals such as horses, birds and monkeys. In contrast, if the story happens under the water, helpers are normally aquatic creatures, such as naga, mermaids and water sprites. The study about protagonist’s helpers in the folktales of Wat Koh reflects a variety of concepts and viewpoints of Thai society and way of life, such as the concept of patronage. In the folktales of Wat Koh, when a protagonist is in danger or faces a critical moment, a helper, such as a hermit or Indra often appears to improve the situation and help the protagonist escape from danger. The concept reflects a realistic concept in the society. In real life, when people are in danger or threatening situation, there is often someone who offers a hand and helps relieve the situation; or when people face a tough situation that they cannot handle by themselves, they often get through all the difficulties with the help and support from others. These kinds of help from outsiders are compatible with the help the protagonist receives from helpers. Another similarity between helpers in the folktales and those in real life is that some of them show up temporarily, while the others continuously stay by the person’s side. Protagonist’s helpers in the folktales of Wat Koh also portray another important belief of Thai people that is “good people are taken care by god.” Thai people believe that an angel or sacred being will always protect and save “good people” from all kinds of harm just like the way a protagonist in the folktales always escape from harm with the help from helpers. 2018-03-07T03:46:18Z 2018-03-07T03:46:18Z 2561-03 2554 Article The Journal. ปีที่ 7, ฉบับที่ 2 (2554), 29-55 https://repository.li.mahidol.ac.th/handle/123456789/9940 tha มหาวิทยาลัยมหิดล คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล application/pdf