การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: สุกฤทธิรา รัตนวิไล
Other Authors: Faculty of Engineering Chemical Engineering
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: 2011
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7342
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/227905
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2010-7342
record_format dspace
spelling th-psu.2010-73422023-06-22T06:37:55Z การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite A comparative study of the catalytic oxidation of VOCs by 12 - tungstophosphoric acid (HPW) supported on SiO2, Al2O3 and zeolite การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite สุกฤทธิรา รัตนวิไล Faculty of Engineering Chemical Engineering คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมเคมี สารประกอบอินทรีย์ระเหย ออกซิเดชั่น ตัวเร่งปฏิกิริยา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ปัจจุบันอุตสาหกรรมขยายตัวมากขึ้น ทำให้มีการปล่อยสารพิษออกสู่บรรยากาศมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งอุตสาหกรรมเฟอร์นิเจอร์ มีการปล่อยสารพิษที่ประกอบด้วยสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย (VOCs) ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อม จึงมีความจำเป็นที่ต้องควบคุมการปล่อยสาร VOCs สู่บรรยากาศให้อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงการลดปริมาณสาร VOCs ด้วยวิธี Catalytic oxidation โดยแคตาลิสต์ทีใช้คือ 12-Tungstophosphoric acid (HPW) ที่มีตัว supporter 3 ชนิดที่แตกต่างกันคือ SiO2, Al2O3และ Zeolite โดยเตรียมที่ 0, 4%, 8%,12% HPW โดยน้ำหนัก สาร VOCs ที่ใช้ในการศึกษาคือ โทลูอีน โดยควบคุมความเข้มข้นของโทลูอีนในอากาศให้อยู่ในช่วง 300-1000 ppm. ที่อุณหภูมิดำเนินการ 200, 300 และ 400°C จากการศึกษาคัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ XRD, SEM และ FT-IR เพื่อยืนยันชนิดของสาร ดูการกระจายตัวของ HPW/SiO2, HPW/A12O3 และ HPW/Zeolite และหมู่ฟังก์ชันของตัวเร่งปฏิกิริยาพบว่าการเพิ่มขึ้นของเปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของ HPW บน Supporter คือ SiO2 Al2O3 และ Zeolite สามารถยืนยันได้จากลักษณะทางกายภาพ โดยพบว่าเมื่อเปอร์เซ็นต์ การโหลด (% Loading) HPW บน Supporter ทุกชนิดสูงขึ้นจะพบปริมาณสาร HPW มากขึ้น ในการทดลองตัวเร่งปฏิกิริยา HPW/SiO2, HPW/Al2O3 และ HPW/Zeolite ในปฏิกิริยา Catalytic Oxidation พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาทั้ง 3 ชนิด เมื่อเพิ่มอุณหภูมิของ reactor สูงขึ้นในช่วง 200 - 400 °C ความสามารถในการกำจัดโทลูอีนในอากาศของตัวเร่งปฏิกิริยากีสูงขึ้นตามอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้น ซึ่งเป็นไปตามกฎของ Arrhennius โดยเรียงลำดับการกำจัดโทลูอีนในอากาศโดยดูจาก %Conversion ของโทลูอีนได้ ดังนี้คือ 12%HPW/SiO2 ที่อุณหภูมิ 400°C สามารถกำจัดโทลูอีนในอากาศไต้สูงที่สุคมี คือ 89% ตามด้วย 8% HPW/AljO3 ให้ค่า %conversion เท่ากับ 85% สุดท้ายคือ 12% HPW/Zeolite ให้ค่า %conversion ประมาณ 72% ซึ่งหากดูจากความสัมพันธ์ของพื้นที่ผิวของตัวเร่งปฏิกิริยา และปริมาณของ HPW พบว่าตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีพื้นที่ผิวสูงสุดและมีปริมาณของ HPW มากสุดให้ค่า%Conversion ของโทลูอีนสูงสุด ซึ่งพื้นที่ผิวและปริมาณตัวเร่งปฏิกิริยาที่สูงคาดว่ามีผลโดยตรงต่อการเกิด Oxidation Reaction โดยคำนึงถึงการปลดปล่อยออกซิเจนเพื่อใช้ในการทำ ปฏิกิริยาของตัวเร่งปฏิกิริยาเป็นสิ่งสำคัญที่สุด 2011-06-21T07:26:38Z 2011-06-21T07:26:38Z 2549 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7342 https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/227905 th application/pdf
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic สารประกอบอินทรีย์ระเหย ออกซิเดชั่น
ตัวเร่งปฏิกิริยา
spellingShingle สารประกอบอินทรีย์ระเหย ออกซิเดชั่น
ตัวเร่งปฏิกิริยา
สุกฤทธิรา รัตนวิไล
การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite
description มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
author2 Faculty of Engineering Chemical Engineering
author_facet Faculty of Engineering Chemical Engineering
สุกฤทธิรา รัตนวิไล
format Technical Report
author สุกฤทธิรา รัตนวิไล
author_sort สุกฤทธิรา รัตนวิไล
title การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite
title_short การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite
title_full การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite
title_fullStr การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite
title_full_unstemmed การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ HPW บน SiO2, Al2O3 และ zeolite
title_sort การศึกษาเปรียบเทียบปฏิกิริยาออกซิเดชันของสารอินทรีย์ระเหยง่ายด้วยตัวเร่งปฏิกิริยาโดยใช้ hpw บน sio2, al2o3 และ zeolite
publishDate 2011
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7342
https://tnrr.nriis.go.th/#/services/research-report/detail/227905
_version_ 1769840911069478912