รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่และระบบการตลาดปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สุทธิจิตต์ เชิงทอง, วิศิษฎ์ ลิ้มพัฒนสิริ, สุชาติ เชิงทอง, เสาวลักษณ์ จันทร์ประสิทธิ์
Other Authors: Faculty of Liberal Arts and Management Sciences
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2011
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7506
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2010-7506
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ปาล์มน้ำมัน การตลาด
ปาล์มน้ำมัน สุราษฎร์ธานี
spellingShingle ปาล์มน้ำมัน การตลาด
ปาล์มน้ำมัน สุราษฎร์ธานี
สุทธิจิตต์ เชิงทอง
วิศิษฎ์ ลิ้มพัฒนสิริ
สุชาติ เชิงทอง
เสาวลักษณ์ จันทร์ประสิทธิ์
รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่และระบบการตลาดปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
description สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย
author2 Faculty of Liberal Arts and Management Sciences
author_facet Faculty of Liberal Arts and Management Sciences
สุทธิจิตต์ เชิงทอง
วิศิษฎ์ ลิ้มพัฒนสิริ
สุชาติ เชิงทอง
เสาวลักษณ์ จันทร์ประสิทธิ์
format Technical Report
author สุทธิจิตต์ เชิงทอง
วิศิษฎ์ ลิ้มพัฒนสิริ
สุชาติ เชิงทอง
เสาวลักษณ์ จันทร์ประสิทธิ์
author_sort สุทธิจิตต์ เชิงทอง
title รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่และระบบการตลาดปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
title_short รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่และระบบการตลาดปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
title_full รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่และระบบการตลาดปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
title_fullStr รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่และระบบการตลาดปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
title_full_unstemmed รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่และระบบการตลาดปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
title_sort รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่และระบบการตลาดปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2011
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7506
_version_ 1751548896140591104
spelling th-psu.2010-75062022-11-08T04:04:51Z รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่และระบบการตลาดปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี โครงการฐานข้อมูลเชิงพื้นที่และระบบการตลาดปาล์มน้ำมัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ สุทธิจิตต์ เชิงทอง วิศิษฎ์ ลิ้มพัฒนสิริ สุชาติ เชิงทอง เสาวลักษณ์ จันทร์ประสิทธิ์ Faculty of Liberal Arts and Management Sciences คณะศิลปศาสตร์และวิทยาการจัดการ Faculty of Science and Industrial Technology คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ปาล์มน้ำมัน การตลาด ปาล์มน้ำมัน สุราษฎร์ธานี สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย งานวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดทำฐานข้อมูลเชิงพื้นที่และศึกษาระบบตลาด วิถีการตลาดและต้นทุนการตลาดปาล์มน้ำมัน ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี การสร้างแผนที่ใช้โปรแกรม ArcGIS Desktop 9.2 ระบบพิกัดแผนที่แบบ Projection Coordination System ระเบียนอ้างอิงแผนที่โลกที่ Indian 1975 UTM Zone 47N แสดงแผนที่ผ่านเว็บไซต์ด้วยโปรแกรม MapServer 4 ใช้ชุดสำเร็จรูป pmapper 3.1 พัฒนาด้วยภาษา HTML ภาษา PHP และภาษา JavaSeript ทั้งนี้แหล่งข้อมูลที่นำมาสร้างเผนที่ ได้แก่ 1) ข้อมูลแผนที่เขตพื้นที่การปกครอง จากกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย เป็นช้อมูลปี 2551 2) ข้อมูลแผนที่เส้นทางถนน จากกรมทางหลวง กระทรวงคมนาคม เป็นข้อมูลปี 2551 3) ข้อมูลแผนที่พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน จากกรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ เป็นข้อมูลปี 2549 และ 4) การสำรวจสถานที่ตั้งลานเท โรงสกัด ในจังหวัดโดยใช้เครื่องกำหนดตำแหน่งพื้นโลก แผนที่ดิจิตอล สามารถแสดงข้อมูลเชิงเผนที่ ได้แก่ เส้นทางถนน เขตพื้นที่การปกครอง พื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน ที่ตั้งลานรับซื้อผลปาล์ม ที่ตั้งโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม คำนวณระยะทางขนส่ง และประมาณการค่าน้ำมันเชื้อเพลิงที่ต้องใช้ ผู้สนใจสามารถเรียกดูข้อมูลผ่านเว็บไซต์ชื่อ http://sit.surat.psu.ac.th/pmapper/ การแสดงผลภาษาไทยจากฐานข้อมูล ArcGIS ยังไม่ถูกต้องทำให้เว็บไซต์ต้องใช้ข้อมูลบางส่วนเป็นภาษาอังกฤษ ซึ่งจะพัฒนาต่อไป การศึกษาระบบการตลาด วิถีการตลาดและต้นทุนการตลาดปาล์มน้ำมัน ในจังหวัดสุราษฎร์ธานี ได้สุ่มตัวอย่างเกษตรกร ลานเท และโรงสกัดที่ตั้งอยู่ใน 3 อำเภอหลัก ได้แก่ อำเภอพระแสง พุนพิน และ ท่าชนะ โดยสุ่มตัวอย่างเกษตรกรจำนวน 289 ราย ตามขนาดพื้นที่ปลูกของเกษตรกร โดยแบ่งเกษตรกรแต่ละอำเภอออกเป็น 3 กลุ่ม คือ เกษตรกรที่มีพื้นที่ปลูกขนาดใหญ่ (40 ไร่ หรือมากกว่า) เกษตรกรที่มีพื้นที่ปลูกขนาดกลาง (20-40 ไร่) และเกษตรกรที่มีพื้นที่ปลูกขนาดเล็ก (น้อยกว่า 20 ไร่) ผู้ประกอบการลานเทตัวอย่าง 29 ราย และผู้ประกอบการโรงสกัดน้ำมันปาล์ม โดยใช้จำนวนตัวอย่าง 9 ราย (ประมาณ 50 % ของประชากร) ใช้แบบสอบถามในการสัมภาษณ์ และนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้สถิติพรรณนา การวิเคราะห์เชิงปริมาณในส่วนของต้นทุนและส่วนเหลื่อมการตลาด ผลการศึกษาการตลาดสามารถสรุปได้ดังนี้ การจัดการด้านการตลาดสำหรับเกษตรกร พบว่า ความสะดวกในการขนส่ง เป็นปัจจัยหลักในการตัดสินใจขาย โดยฉพาะเกษตรกรรายเล็ก เมื่อขายปาล์ม เกษตรกรร้อยละ 72 จะได้รับราคาขายเท่ากับราคาประกาศเกษตรกรร้อยละ 7 ได้สูงกว่าราคาประกาศเนื่องจากเป็นลูกค้าขาประจำและมีปาล์มคุณภาพดี นอกจากนี้ เกษตรกรร้อยละ 15 มีการรวมกลุ่มกันขาย และร้อยละ 6 ไม่ต้องการขายผ่านกลุ่มเนื่องจากปัญหาการบริหารจัดการกลุ่มไม่ดี และขั้นตอนการขายยุ่งยากกิจกรรมหลักทางการตลาดสำหรับเกษตรกร คือการขนส่ง ซึ่งเกษตรกรร้อยละ 64 นิยมจ้างขนส่งเพราะไม่มีรถของตนเอง ในการขายปาล์มเกษตรกรร้อยละ 7 ระบุปัญหา ถูกตัดราคา รองลงไปคือปาล์มคืน และตาชั่งไม่ตรง เกษตรกรร้อยละ 65 รับรู้ว่าตนเองมีทางเลือกในการขายสินค้า นอกจากเจ้าประจำที่ขายกันอยู่ในปัจจุบัน เกษตรกรร้อยละ 73 รับรู้ราคาขายล่วงหน้า ก่อนนำปาล์มมาส่งขาย โดยสอบถามจากเพื่อนบ้าน ส่วนการรับรู้ถึงราคาที่เปลี่ยนไปในแต่ละช่วงเดือน พบว่าเกษตรกรมีการรับรู้อยู่ในเกณฑ์ดี การจัดการด้านการตลาดของลานเทและโรงสกัด พบว่าในส่วนของลานเท ราคารับซื้อปาล์มของลานเทจะอ้างอิงราคามาจากโรงงานสกัดน้ำมันปาล์ม ลานเทล่วนใหญ่ร้อยละ 85 จะรับซื้อจากลูกค้าขาประจำ โดยลานเทจะชำระเงินให้ลูกค้าเป็นเงินสดทันที ร้อยละ 100 ของลานเทมีวิธีการตรวจสอบคุณภาพของปาล์มด้วยการประเมินด้วยสายตา กลยุทธ์ในการดำเนินงานของลานเทส่วนใหญ่ร้อยละ 83 คือการสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกับลูกค้า ในส่วนของโรงสกัดปาล์มน้ำมันส่วนใหญ่ร้อยละ 66.67 จะอ้างอิงราคามาจากราคารับซื้อของคู่แข่ง รองลงมาร้อยละ 56 จะอ้างอิงจากราคาตลาดน้ำมันดิบ ร้อยละ 100 มีการตรวสอบคุณภาพของปาล์มด้วยการประเมินด้วยสายตามีวิธีชำระเงินให้กับลูกค้าทั้งในรูปของการโอนเข้าบัญชี และจ่ายเงินสดแล้วแต่ความต้องการและลักษณะของลูกค้า วิถีการตลาดปาล์มน้ำมัน พบว่า ร้อยละ 73 ของปริมาณผลผลิต ขายผ่านลานเทเป็นหลัก ร้อยละ 27 ขายตรงให้โรงสกัด ต้นทุนการตลาดของเกษตรกรเฉลี่ยกิโลกรัมละ 0.174 บาท โดยค่าขนส่งเป็นต้นทุนหลัก คิดเป็นร้อยละ 77 ของต้นทุนทั้งหมด รองลงไปคือค่าเสียโอกาสเงินลงทุน เกษตรกรรายเล็กจะมีต้นทุนการตลาดสูงที่สุด กิโลกรัมละ 0.179 บาท ทั้งนี้ต้นทุนการตลาดส่วนใหญ่เป็นต้นทุนเงินสด สำหรับต้นทุนการตลาดและส่วนเหลื่อมการตลาดระดับลานเทและโรงสกัด ในภาพรวมพบว่าต้นทุนการตลาดโดยเฉลี่ยของผู้ประกอบการลานเท เท่ากับ 0.25 บาทต่อกิโลกรัมประกอบด้วยโครงสร้างต้นทุนดังนี้ ค่าเสื่อมราคาเท่ากับ 0.060 บาทต่อกิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 24 เงินเดือนและค่าแรงงานเท่ากับ 0.058 บาทต่อกิโลกรัมคิดเป็นร้อยละ 23 ค่าขนส่งเท่ากับ 0.055 บาทต่อกิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 22 และค่าใช้จ่ายอื่น ๆ เท่ากับ 0.035 บาทต่อกิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 14 ของต้นทุนการตลาครวม ส่วนเหลื่อมการตลาดทะลายปาล์มสดเท่ากับ 0.47บาทต่อกิโลกรัม คิดเป็นร้อยละ 10.98 ของราคาปาล์มที่ โรงงานสกัดปาล์มน้ำมันรับซื้อ ปัญหาการตลาดเป็นปัญหาที่สำคัญที่สุดของเกษตรกร โดยเฉพาะปัญหาราคาปาล์มไม่แน่นอน ส่วนปัญหาของลานเทและโรงสกัด คือ มีการแข่งขันค่อนข้างสูง คุณภาพปาล์มไม่ดี ขาดเงินทุนหมุนเวียน และปัญหาผลผลิตปาล์มไม่สม่ำเสมอในแต่ละเดือน ทำให้วางแผนการผลิตยาก ตลอดจนขาดแคลนแรงงานทั้งระดับผู้ชำนาญการและผู้ปฏิบัติการ และขาดเทคโนโลยีที่ทันสมัย 2011-09-20T08:27:07Z 2011-09-20T08:27:07Z 2551 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/7506 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์