รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการปรับปรุงระบบกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยางของยางพารา

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สายัณห์ สดุดี, อิบรอเฮม ยีดำ, ระวี เจียรวิภา
Other Authors: Faculty of Natural Resources (Plant Science)
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2012
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8045
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2010-8045
record_format dspace
spelling th-psu.2010-80452022-11-07T06:28:14Z รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการปรับปรุงระบบกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยางของยางพารา Improvement of tapping systems to enhance latex yield of rubber (Hevea brasiliensis) สายัณห์ สดุดี อิบรอเฮม ยีดำ ระวี เจียรวิภา Faculty of Natural Resources (Plant Science) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพืชศาสตร์ การกรีดต้นไม้ ยาง การผลิต การกรีดยาง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ได้มีการรายงานว่า ระบบกรีดแบบสองรอยกรีดเป็นระบบบกรีดที่มีแนวโน้มเพิ่มผลผลิตของยางพาราและช่วยยืดอายุการกรีด ดังนั้นจึงได้มีการนำมาทดสอบในจังหวัดสงขลา ทั้งในระดับสถานี (อ.เทพา) และระดับสวน (อ.หาดใหญ่ และ อ.นาหม่อม) ผลการทดลองในระดับสถานีพบว่า ระบบกรีดแบบสองรอยกรีด (2x1/2S 3d/4) ให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 22 เปอร์เซ็นต์จากระบบกรีดแบบรอยกรีดเดียว (1/2S d/2) และระบบกรีดแบบสองรอยกรีด (2x1/3S d/2.d/3) ให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 16 เปอร์เซ็นต์จากระบบกรีดแบบรอยกรีดเดียว (1/3S 3d/4) สำหรับในระดับสวน พบว่า การใช้ระบบกรีดแบบสองรอยกรีด (2x1/3S d/3) ในอำเภอหาดใหญ่ ให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 16 เปอร์เซ็นต์จกระบบกรีดแบบรอยกรีดเดียว (1/3S 2d/3) ในขณะที่การใช้ระบบกรีดแบบสองรอยกรีด (2x1/3S d/2.d/3) ในอำเภอนาหม่อม ให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น 11 เปอร์เซ็นต์จากระบบกรีดแบบรอยกรีดเดียว (1/3S 3d/4) ทั้งในหน่วยของกรัมต่อต้น และกรัมต่อต้นต่อครั้งกรีด ความสิ้นเปลืองเปลือกในระดับสถานีพบว่า ระบบกรีดแบบสองรอยกรีดมีความสิ้นเปลืองเปลือกสูงกว่าระบบกรีดแบบรอยกรีดเดียว โดยมีความแตกต่างทางสถิติอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง ส่วนในระดับสวนนั้นไม่พบความแตกต่างทางสถิติของความสิ้นเปลืองเปลือกระหว่างระบบกรีดทั้ง 2 พื้นที่ การเจริญทางด้านลำต้นไม่พบความแตกต่างทางสถิติระหว่างะรบบกรีดทั้งในการทดลองระดับสถานีและระดับสวน จากการวิเคราะห์องค์ประกอบทางชีวเคมี ประกอบด้วย ปริมาณซูโครส ปริมาณอนินทรีย์ฟอสฟอรัส ปริมาณไธออล และปริมาณเนื้อยางแห้ง รวมทั้งเปอร์เซ็นต์การเกิดอาการเปลือกแห้งของยางพารา พบว่า การใช้ระบบกรีดแบบสองรอยกรีด ไม่มีความแตกต่างทางสถิติกับระบบกรีดแบบรอยกรีดเดียว 2012-02-24T09:34:34Z 2012-02-24T09:34:34Z 2553 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8045 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การกรีดต้นไม้
ยาง การผลิต
การกรีดยาง
spellingShingle การกรีดต้นไม้
ยาง การผลิต
การกรีดยาง
สายัณห์ สดุดี
อิบรอเฮม ยีดำ
ระวี เจียรวิภา
รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการปรับปรุงระบบกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยางของยางพารา
description มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
author2 Faculty of Natural Resources (Plant Science)
author_facet Faculty of Natural Resources (Plant Science)
สายัณห์ สดุดี
อิบรอเฮม ยีดำ
ระวี เจียรวิภา
format Technical Report
author สายัณห์ สดุดี
อิบรอเฮม ยีดำ
ระวี เจียรวิภา
author_sort สายัณห์ สดุดี
title รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการปรับปรุงระบบกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยางของยางพารา
title_short รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการปรับปรุงระบบกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยางของยางพารา
title_full รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการปรับปรุงระบบกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยางของยางพารา
title_fullStr รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการปรับปรุงระบบกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยางของยางพารา
title_full_unstemmed รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการปรับปรุงระบบกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยางของยางพารา
title_sort รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์โครงการการปรับปรุงระบบกรีดเพื่อเพิ่มผลผลิตน้ำยางของยางพารา
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2012
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8045
_version_ 1751548896540098560