การเปรียบเทียบสารตัวเติมกากตะกอนน้ำมันปาล์มและเขม่าดำในผลิตภัณฑ์ยาง

น้ำมันปาล์มนอกจากใช้เป็นน้ำมันพืชเพื่อการบริโภคแล้ว ยังใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่อเนื่องอีกหลายประเภท เช่น ไบโอดีเซล สบู่ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป นมข้นหวาน เนยเทียม เป็นต้น ในการสกัดน้ำมันปาล์มดิบมีของเสียที่เกิดในโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มหลากหลายชนิด รวมทั้งกากตะกอนน้ำมันปาล์มซึ่งมีน้ำมันหลงเหลืออยู่ทำใ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: Ratanawilai, Thanate
Format: Article
Language:Thai
Published: Naresuan Unversity Journal 2012
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8207
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2010-8207
record_format dspace
spelling th-psu.2010-82072020-11-18T03:57:24Z การเปรียบเทียบสารตัวเติมกากตะกอนน้ำมันปาล์มและเขม่าดำในผลิตภัณฑ์ยาง The comparison of filler palm oil sludge and carbon black in rubber product Ratanawilai, Thanate ยาง สารตัวเติม เขม่าดำ กากตะกอนน้ำมันปาล์ม น้ำมันปาล์มนอกจากใช้เป็นน้ำมันพืชเพื่อการบริโภคแล้ว ยังใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่อเนื่องอีกหลายประเภท เช่น ไบโอดีเซล สบู่ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป นมข้นหวาน เนยเทียม เป็นต้น ในการสกัดน้ำมันปาล์มดิบมีของเสียที่เกิดในโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มหลากหลายชนิด รวมทั้งกากตะกอนน้ำมันปาล์มซึ่งมีน้ำมันหลงเหลืออยู่ทำให้มีแนวโน้มในการนำไปใช้เป็นพลาสติไซเซอร์เพื่อให้ยางนิ่มในระหว่างการบดผสม งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำกากตะกอนน้ำมันปาล์มมาใช้เป็นสารตัวเติมในผลิตภัณฑ์ยางแทนสารตัวเติมชนิดอื่น คือ เขม่าดำ ซึ่งเป็นการนำของเสียมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับกากตะกอนน้ำมันปาล์มอีกด้วย โดยทำการศึกษา 2 ปัจจัย คือ ปริมาณกากตะกอนน้ำมันปาล์มที่ 35, 45 และ 55 phr และร้อยละความชื้นของกากตะกอนน้ำมันปาล์ม ที่ร้อยละ 1, 10 และ 20 แล้วทำการเปรียบเทียบต้นทุนของสารตั้งต้นที่ใช้ในการผลิตของการใช้เขม่าดำและกากตะกอนน้ำมันปาล์ม ผลการวิจัยพบว่า เมื่อปริมาณกากตะกอนน้ำมันปาล์มเพิ่มขึ้นทำให้ค่าความแข็ง ความต้านทานการสึกหรอและความหนาแน่นของผลิตภัณฑ์ยางเพิ่มสูงขึ้นแต่ยังคงให้ค่าที่ต่ำกว่าการใช้เขม่าดำเป็นสารตัวเติมในขณะที่ค่าความต้านแรงดึงกลับมีแนวโน้มให้ค่าลดลง ส่วนค่าความชื้นของกากตะกอนน้ำมันปาล์มไม่ส่งผลกระทบต่อค่าความแข็ง ความต้านแรงดึง ความต้านทานการสึกหรอและความหนาแน่น ดังนั้น กากตะกอนน้ำมันปาล์มที่เติมลงไปในผลิตภัณฑ์ยางจึงทำหน้าที่เป็นสารตัวเติมชนิดไม่เสริมแรงแต่จัดเป็นสารตัวเติมเพื่อลดต้นทุน 2012-06-11T04:04:20Z 2012-06-11T04:04:20Z 2011 Article 08587418 http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8207 th application/pdf Naresuan Unversity Journal
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ยาง
สารตัวเติม
เขม่าดำ
กากตะกอนน้ำมันปาล์ม
spellingShingle ยาง
สารตัวเติม
เขม่าดำ
กากตะกอนน้ำมันปาล์ม
Ratanawilai, Thanate
การเปรียบเทียบสารตัวเติมกากตะกอนน้ำมันปาล์มและเขม่าดำในผลิตภัณฑ์ยาง
description น้ำมันปาล์มนอกจากใช้เป็นน้ำมันพืชเพื่อการบริโภคแล้ว ยังใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมต่อเนื่องอีกหลายประเภท เช่น ไบโอดีเซล สบู่ บะหมี่กึ่งสำเร็จรูป นมข้นหวาน เนยเทียม เป็นต้น ในการสกัดน้ำมันปาล์มดิบมีของเสียที่เกิดในโรงงานสกัดน้ำมันปาล์มหลากหลายชนิด รวมทั้งกากตะกอนน้ำมันปาล์มซึ่งมีน้ำมันหลงเหลืออยู่ทำให้มีแนวโน้มในการนำไปใช้เป็นพลาสติไซเซอร์เพื่อให้ยางนิ่มในระหว่างการบดผสม งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำกากตะกอนน้ำมันปาล์มมาใช้เป็นสารตัวเติมในผลิตภัณฑ์ยางแทนสารตัวเติมชนิดอื่น คือ เขม่าดำ ซึ่งเป็นการนำของเสียมาใช้ให้เกิดประโยชน์ ช่วยเพิ่มมูลค่าให้กับกากตะกอนน้ำมันปาล์มอีกด้วย โดยทำการศึกษา 2 ปัจจัย คือ ปริมาณกากตะกอนน้ำมันปาล์มที่ 35, 45 และ 55 phr และร้อยละความชื้นของกากตะกอนน้ำมันปาล์ม ที่ร้อยละ 1, 10 และ 20 แล้วทำการเปรียบเทียบต้นทุนของสารตั้งต้นที่ใช้ในการผลิตของการใช้เขม่าดำและกากตะกอนน้ำมันปาล์ม ผลการวิจัยพบว่า เมื่อปริมาณกากตะกอนน้ำมันปาล์มเพิ่มขึ้นทำให้ค่าความแข็ง ความต้านทานการสึกหรอและความหนาแน่นของผลิตภัณฑ์ยางเพิ่มสูงขึ้นแต่ยังคงให้ค่าที่ต่ำกว่าการใช้เขม่าดำเป็นสารตัวเติมในขณะที่ค่าความต้านแรงดึงกลับมีแนวโน้มให้ค่าลดลง ส่วนค่าความชื้นของกากตะกอนน้ำมันปาล์มไม่ส่งผลกระทบต่อค่าความแข็ง ความต้านแรงดึง ความต้านทานการสึกหรอและความหนาแน่น ดังนั้น กากตะกอนน้ำมันปาล์มที่เติมลงไปในผลิตภัณฑ์ยางจึงทำหน้าที่เป็นสารตัวเติมชนิดไม่เสริมแรงแต่จัดเป็นสารตัวเติมเพื่อลดต้นทุน
format Article
author Ratanawilai, Thanate
author_facet Ratanawilai, Thanate
author_sort Ratanawilai, Thanate
title การเปรียบเทียบสารตัวเติมกากตะกอนน้ำมันปาล์มและเขม่าดำในผลิตภัณฑ์ยาง
title_short การเปรียบเทียบสารตัวเติมกากตะกอนน้ำมันปาล์มและเขม่าดำในผลิตภัณฑ์ยาง
title_full การเปรียบเทียบสารตัวเติมกากตะกอนน้ำมันปาล์มและเขม่าดำในผลิตภัณฑ์ยาง
title_fullStr การเปรียบเทียบสารตัวเติมกากตะกอนน้ำมันปาล์มและเขม่าดำในผลิตภัณฑ์ยาง
title_full_unstemmed การเปรียบเทียบสารตัวเติมกากตะกอนน้ำมันปาล์มและเขม่าดำในผลิตภัณฑ์ยาง
title_sort การเปรียบเทียบสารตัวเติมกากตะกอนน้ำมันปาล์มและเขม่าดำในผลิตภัณฑ์ยาง
publisher Naresuan Unversity Journal
publishDate 2012
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8207
_version_ 1695734292565458944