การพัฒนาระบบการปลูกถ่ายยีนร่วมกับต้นอ่อนปาล์มน้ำมันจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ

สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สมปอง เตชะโต, สุรีรัตน์ เย็นช้อน, ยุพาภรณ์ ศิริโสม, สุนทรียา กาละวงศ์
Other Authors: Faculty of Natural Resources (Plant Science)
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: 2012
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8392
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2010-8392
record_format dspace
spelling th-psu.2010-83922022-11-07T04:30:11Z การพัฒนาระบบการปลูกถ่ายยีนร่วมกับต้นอ่อนปาล์มน้ำมันจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ Development of gene transformation with somatic embryos of oil palm derived from tissue cukture สมปอง เตชะโต สุรีรัตน์ เย็นช้อน ยุพาภรณ์ ศิริโสม สุนทรียา กาละวงศ์ Faculty of Natural Resources (Plant Science) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพืชศาสตร์ การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ปาล์มน้ำมัน สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ การศึกษาถึงผลของปัจจัยทางกายภาพ และชีวภาพต่อการถ่ายยืนโดยใช้อะโกรแบคทีเรียม และเครื่องยิงอนุภาค พบว่า ความเข้มขันของชีโฟทาซึมที่สามารถยับยั้งการเจริญเดิบโตของเชื้ออะโกรแบคทีเรียม และส่งเสริมการเจริญ และพัฒนาการของเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสได้คือ 200 มิลลิกรัมต่อลิตร ความเข้มข้นของสารปฏิชีวนะไฮโกรมัยชินที่เหมาะสมในการคัดเลือกเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสที่ได้รับการถ่ายยีนคือที่ระดับความเข้มข้น 30 มิลลิกรัมต่อลิตร สายเชื้อที่มีประสิทธิภาพสูงในการถ่ายยีนคือ สายเชื้อ AGL-1 ที่มีพลาสมิด pCAMBIA 1304 ซึ่งมียีน gus เป็นยีนรายงานผลยีน hptII เป็นยีนคัดเลือก และการใช้เอ็มบริโอเจนิคแคลลัสอายุ 4 สัปดาห์จุ่มแช่สารละลายเชื้ออะโกรแบคทีเรียมที่ปรับความหนาแน่นเชื้อที่ค่า OD600 เป็น 0.8 อินคูเบทนาน 6 ชั่วโมง ให้การแสดงออกของยีน gus สูงสุค ในกรณีการถ่ายยีนด้วยเครื่องยิงยีน พบว่า การเพาะเลี้ยงเอ็มบริโอเจนิคแคลลัสปาล์มน้ำมันอายุ 4 สัปดาห์บนอาหารออสโมติคัมเป็นเวลา 16 ชั่วโมงก่อนการยิงยีน โดยกำหนดแรงดันสุญญากาศ -0.1 เมกะปาศคาล แรงดันก๊าซฮีเลียม 5 กิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร และปรับระยะห่างระหว่างหัวกระสุนและเป้าหมาย 10 เซนติมตร ให้การแสดงออกของยีน gus และแคลลัสที่ต้านทานต่อไฮโกรมัยชินสูงสุด เมื่อนำมาตรวจสอบการสดงออกของยีน gus และ hptII โดยเทคนิค PCR (Polymerase chain reaction) พบว่ามีการปรากฏของยีน gus ขนาค 441 คู่เบส และ hptII ขนาด 800 คู่เบส 2012-09-05T03:17:38Z 2012-09-05T03:17:38Z 2553 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8392 th application/pdf
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ปาล์มน้ำมัน
spellingShingle การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช
ปาล์มน้ำมัน
สมปอง เตชะโต
สุรีรัตน์ เย็นช้อน
ยุพาภรณ์ ศิริโสม
สุนทรียา กาละวงศ์
การพัฒนาระบบการปลูกถ่ายยีนร่วมกับต้นอ่อนปาล์มน้ำมันจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
description สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
author2 Faculty of Natural Resources (Plant Science)
author_facet Faculty of Natural Resources (Plant Science)
สมปอง เตชะโต
สุรีรัตน์ เย็นช้อน
ยุพาภรณ์ ศิริโสม
สุนทรียา กาละวงศ์
format Technical Report
author สมปอง เตชะโต
สุรีรัตน์ เย็นช้อน
ยุพาภรณ์ ศิริโสม
สุนทรียา กาละวงศ์
author_sort สมปอง เตชะโต
title การพัฒนาระบบการปลูกถ่ายยีนร่วมกับต้นอ่อนปาล์มน้ำมันจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
title_short การพัฒนาระบบการปลูกถ่ายยีนร่วมกับต้นอ่อนปาล์มน้ำมันจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
title_full การพัฒนาระบบการปลูกถ่ายยีนร่วมกับต้นอ่อนปาล์มน้ำมันจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
title_fullStr การพัฒนาระบบการปลูกถ่ายยีนร่วมกับต้นอ่อนปาล์มน้ำมันจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
title_full_unstemmed การพัฒนาระบบการปลูกถ่ายยีนร่วมกับต้นอ่อนปาล์มน้ำมันจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
title_sort การพัฒนาระบบการปลูกถ่ายยีนร่วมกับต้นอ่อนปาล์มน้ำมันจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
publishDate 2012
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8392
_version_ 1751548897515274240