การปรับปรุงพันธุ์ถั่วฝักยาวให้ต้านทานต่อการทำลายของแมลงศัตรู (ระยะที่ 2)

มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: จรัสศรี นวลศรี, ขวัญจิตร สันติประชา, อรัญ งามผ่องใส
Other Authors: Faculty of Natural Resources (Plant Science)
Format: Technical Report
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2013
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8604
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2010-8604
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ถั่วฝักยาว การปรับปรุงพันธุ์
ถั่วฝักยาว ความต้านทานโรคและศัตรูพืช
ถั่วฝักยาว โรคและศัตรูพืช
spellingShingle ถั่วฝักยาว การปรับปรุงพันธุ์
ถั่วฝักยาว ความต้านทานโรคและศัตรูพืช
ถั่วฝักยาว โรคและศัตรูพืช
จรัสศรี นวลศรี
ขวัญจิตร สันติประชา
อรัญ งามผ่องใส
การปรับปรุงพันธุ์ถั่วฝักยาวให้ต้านทานต่อการทำลายของแมลงศัตรู (ระยะที่ 2)
description มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
author2 Faculty of Natural Resources (Plant Science)
author_facet Faculty of Natural Resources (Plant Science)
จรัสศรี นวลศรี
ขวัญจิตร สันติประชา
อรัญ งามผ่องใส
format Technical Report
author จรัสศรี นวลศรี
ขวัญจิตร สันติประชา
อรัญ งามผ่องใส
author_sort จรัสศรี นวลศรี
title การปรับปรุงพันธุ์ถั่วฝักยาวให้ต้านทานต่อการทำลายของแมลงศัตรู (ระยะที่ 2)
title_short การปรับปรุงพันธุ์ถั่วฝักยาวให้ต้านทานต่อการทำลายของแมลงศัตรู (ระยะที่ 2)
title_full การปรับปรุงพันธุ์ถั่วฝักยาวให้ต้านทานต่อการทำลายของแมลงศัตรู (ระยะที่ 2)
title_fullStr การปรับปรุงพันธุ์ถั่วฝักยาวให้ต้านทานต่อการทำลายของแมลงศัตรู (ระยะที่ 2)
title_full_unstemmed การปรับปรุงพันธุ์ถั่วฝักยาวให้ต้านทานต่อการทำลายของแมลงศัตรู (ระยะที่ 2)
title_sort การปรับปรุงพันธุ์ถั่วฝักยาวให้ต้านทานต่อการทำลายของแมลงศัตรู (ระยะที่ 2)
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2013
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8604
_version_ 1751548897708212224
spelling th-psu.2010-86042022-11-08T02:15:48Z การปรับปรุงพันธุ์ถั่วฝักยาวให้ต้านทานต่อการทำลายของแมลงศัตรู (ระยะที่ 2) Improvement of yardlong bean for insect resistance จรัสศรี นวลศรี ขวัญจิตร สันติประชา อรัญ งามผ่องใส Faculty of Natural Resources (Plant Science) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาพืชศาสตร์ Faculty of Natural Resources (Pest Management) คณะทรัพยากรธรรมชาติ ภาควิชาการจัดการศัตรูพืช ถั่วฝักยาว การปรับปรุงพันธุ์ ถั่วฝักยาว ความต้านทานโรคและศัตรูพืช ถั่วฝักยาว โรคและศัตรูพืช มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โครงการวิจัยการปรับปรุงพันธุ์ถั่วฝักยาวเพื่อให้ต้านทานต่อการเข้าทำลายของแมลง เป็นโครงการระยะยาว ซึ่งแบ่งเป็น 3 ระยะ รายงานฉบับนี้เป็นการรายงานผลการวิจัยระยะที่ 2 รวม 2 ปี ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2549 ถึงเดือนกันยายน 2551 โดยแบ่งงานทดลองออกเป็น 3 ส่วน คือ การทดลองที่ I การปรับปรุงพันธุ์โดยวิธีมาตรฐาน และศึกษาพันธุกรรมการต้านทานเพลี้ยอ่อนถั่ว โดยการผสมข้ามระหว่างพันธุ์คัด-ม.อ. กับพันธุ์ต้านทานเพลี้ยอ่อนถั่ว ได้แก่ SR00-863 IT82E-16 สุรนารี1 และพันธุ์เขาหินซ้อน ทำการผสมตัวเองลูก F1 และผสมกลับไปยังพันธุ์พ่อแม่ ปลูกทดสอบแต่ละคู่ผสม 6 กลุ่มประชากร ประกอบด้วยพันธุ์แม่ (P1) พันธุ์พ่อ (P2) ลูกผสมชั่วที่ (F1) ลูกผสมชั่วที่ 2 (F2) ลูกผสมกลับไปยังพันธุ์แม่ (BC1) และลูกผสมกลับไปยังพันธุ์พ่อ (BC2) ในโรงเรือนตาข่ายปิด โดยวางแผนการทดลองแบบสุ่มในบล็อกสมบูรณ์ จำนวนซ้ำไม่เท่ากัน ณ แปลงทดลองภาควิชาพืชศาสตร์ คณะทรัพยากรธรรมชาติ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา ปล่อยเพลี้ยอ่อนถั่วจำนวน 5 ตัวต่อต้น ขณะที่พืชมีอายุ 3 สัปดาห์หลังปลูก เพื่อศึกษาจำนวนเพลี้ยอ่อนถั่ว และระดับความรุนแรงการเข้าทำลายในช่วง 6 สัปดาห์หลังปลูก (3 สัปดาห์หลังปล่อยเพลี้ยอ่อน) ผลการทดลองพบว่า ความรุนแรงการเข้าทำลายของเพลี้ยอ่อนถั่วในลูกผสมชั่วที่ 1 (F1) และลูกผสมกลับไปยังพันธุ์พ่อ (BC2) มีค่าใกล้เคียงกับพันธุ์ต้านทาน (พันธุ์พ่อ) ในทุกคู่ผสม อย่างไรก็ตาม อัตราส่วนระหว่างต้นต้านทาน และต้นอ่อนแอต่อการเข้าทำลายของเพลี้ยอ่อนถั่วในคู่ผสมพันธุ์คัค-ม.อ. x IT82E-16 เท่านั้น ที่มีอัตราส่วน 3 :1 และ 1 : 1 ตามลำดับ แสดงว่าการต้านทานเพลี้ยอ่อนถั่วในพันธุ์ IT82E-16 ถูกควบคุมด้วยยีนเพียงคู่เดียว และเป็นยีนเด่น ส่วนคู่ผสมอื่น ๆ ยีนที่เกี่ยวข้องกับลักษณะดังกล่าวอาจมีความซับซ้อนมากกว่า สำหรับการวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยของชั่วรุ่นจากถั่วทั้ง 4 คู่ผสม พบว่า อิทธิพลของยีนแบบผลบวกมีบทบาทสำกัญในการควบคุมความแปรปรวนทางพันธุกรรมของจำนวนเพลี้ยอ่อนถั่ว และระดับความรุนแรงของการเข้าทำลายเฉพาะคู่ผสมคัด-ม.อ. x IT82E-16 เท่านั้น นอกจากนี้ยังพบการทำงานของยีนแบบผลบวก ปฏิกิริยาสัมพันธ์ระหว่างยีนแบบผลบวกกับแบบผลบวกในลักษณะความรุนแรงการเข้าทำลายของเพลี้ยอ่อนถั่วเฉพาะคู่ผสมคัด -ม.อ. x IT82E-16 ส่วนอัตราพันธุกรรมของลักษณะต้านทานเพลี้ยอ่อนถั่วใน 4 คู่ผสม พบว่า มีค่าระหว่าง 22.21 ถึง 55.94 เปอร์เซ็นต์ โดยคู่ผสมคัด-ม.อ. x IT82E--16 มีค่าอัตราพันธุกรรมสูงสุด การทดลองที่ II เป็นการคัคเลือกและปรับปรุงพันธุ์ถัวฝักยาวพันธ์ุคัด-มอ. โดยใช้รังสีเกมมาเป็นสิ่งก่อกลายพันธุ์ โดยนำเมล็ตถั่วฝักยาวพันธุ์คัด - ม.อ. ที่ผ่านฉายรังสีแกมมาในปริมาณต่าง ๆ กันคือ 25, 50, 75 และ 100 Krad ไปปลูกทดสอบ ทำการคัดเลือกต่อจากระยะที่ I (M4) จากลักษณะต่าง ๆ ดังนี้ วันออกดอก ความยาวฝัก จำนวนฝักต้น ผลผลิตต้น และลักษณะผิดปกติที่เกิดขึ้น จนถึงชั่ว M7 สามารถคัดพันธ์ุได้จำนวน 3 พันธ์ุ ทำการทดสอบเบื้องต้น เปรียบเทียบผลผลิตของ ทั้ง 3 พันธุ์ที่ผ่านการคัดเลือก โดยมีพันธุ์คัด-ม.อ. และพันธุ์สามชุกเป็นพันธุ์เปรียบเทียบ จากผลการทดสอบพบว่าไม่มีความแตกต่างทางสถิติของลักษณะต่าง ๆ ระหว่างพันธุ์ทั้งสามและพันธุ์เปรียบเทียบ ซึ่งจะทำการทดสอบผลผลิตเปรียบเทียบในพื้นที่ต่าง ๆ อีกครั้ง การทดลองที่ III เป็นการศึกษากลไกการต้านทานเพลี้ยอ่อนของถั่วฝักยาวและถั่วพุ่ม 4 สายพันธ์ุ เป็นการศึกษาพฤติกรรมการดูดกินของเพลี้ยอ่อนถั่ว และลักษณะสัณฐานวิทยา ได้แก่ รูปร่าง ความขาวและความหนาแน่นของขนใต้ใบ ชั้นความหนาของเซลล์ผิวและสีใบจากผล การทดลองพบว่า ระยะเวลาในการดูดกินของเพลี้ยอ่อนถั่วบนพันธุ์คัด-ม.อ. ใช้เวลาชิมสั้นที่สุด รองลงมาได้แก่พันธุ์ SR00-863 เขาหินซ้อน สุรนารี และ IT82E-16 ตามลำดับ และระยะเวลาดูดกิน ใช้เวลาบนพันธุ์คัด ม.อ. นานที่สุด ผลการศึกษาลักษณะความยาวขนและความหนาแน่นของขนใต้ใบด้วยกล้องอิเล็คตรอนแบบส่องกราดของพื้นที่ใบ 1 ตารางเซนติเบตร พบลักษณะขน 2 แบบคือ ขนคล้ายกระบองและขนแบบเรียวแหลม โดยพบว่าขนใต้ใบ และความหนาแน่นของขน ในพันธุ์คัด-ม.อ. มีค่าต่ำที่สุด ส่วนพันธ์ุ IT82E-16 มีความยาวขน และความหนาแน่นมากที่สุด ความหนาของเซลล์ผิวลำต้นและใบของพันธุ์ IT82E-16 มีค่ามากที่สุด ส่วนสีใบ พบว่าสีใบของถั่วพันธุ์คัด-ม.อ. มีผลต่อการดึงดูดเพลี้ยอ่อนถั่วมากที่สุด โดยนับจากจำนวนเพลี้ยอ่อนที่ติดกับดัก ในขณะที่สีใบพันธ์ุ 1T82E-16 มีความดึงดูดเพลี้ยอ่อนถั่วน้อยที่สุด ผลการศึกษาปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส โปแตสเซียมและโปรตีน ต่อการดูดกินของเพลี้ยอ่อนถั่ว พบว่าพันธุ์คัด-ม.อ. มีเปอร์เซนต์โปแตสเซียมต่ำที่สุด ซึ่งธาตุอาหารดังกล่าวมีผลต่อการเสริมสร้างความทนทานของต้นพืชต่อการเข้าทำลายของแมลง 2013-01-09T04:34:20Z 2013-01-09T04:34:20Z 2552 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/8604 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์