ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(วิชาจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11764 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-11764 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-117642021-07-24T14:08:32Z ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ Factors Affecting the Mental Health of the Military Operations in the Southern Border Provinces Area อีซอ, รอหานา สุใจ ส่วนไพโรจน์ Faculty of Education (Psychology and Counseling) คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาจิตวิทยาและการแนะแนว จังหวัดชายแดนภาคใต้ สุขภาพจิต วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(วิชาจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความยืดหยุ่นทนทาน ระดับพฤติกรรม การเผชิญปัญหา ระดับการให้อภัย และปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ กลุ่มตัวอย่างเป็นทหาร การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น (Stratified Random Sampling ) จำนวน 863 โดยกำหนดให้ระดับชั้นยศและหน่วยทหารเป็นชั้นในการสุ่ม การวิจัยเชิงสหสัมพันธ์ (Correlational Research) เก็บรวบรวมข้อมูลใช้ แบบสอบถาม 5 ส่วน ประกอบด้วย 1) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 2) แบบประเมินความยืดหยุ่นทนทาน 3) แบบประเมินพฤติกรรมการเผชิญปัญหา 4) แบบวัดการให้อภัย 5) แบบประเมินภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีค่าความเชื่อมั่นจากสัมประสิทธิ์ของ Cronbach เท่ากับ 0.865, 0.906, 0.878, และ 0.753 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ การวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) โดยวิธี Stepwise Regression Analysis ผลการวิจัย พบว่า 1. ทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีความยืดหยุ่นทนทาน ด้าน ความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อื่น ความมั่นใจในการดำรงชีวิตอยู่ การมีสิ่งสนับสนุนทางสังคม การมีชีวิตอยู่ด้วยความมั่นคงทางจิตวิญญาณ ความสามารถในการผ่อนคลายความเครียด และในภาพรวม ระดับสูง 2. ทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีพฤติกรรมการเผชิญปัญหา แบบมุ่งแก้ไขปัญหา แบบมุ่งลดอารมณ์ และในภาพรวม ระดับสูง 3. ทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ มีการให้อภัยตนเอง ให้อภัย ผู้อื่น ให้อภัยสถานการณ์ และในภาพรวม ระดับปานกลาง 4. ความยืดหยุ่นทนทาน พฤติกรรมการเผชิญปัญหา และการให้อภัย สามารถ ทำนายภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยมีค่าสัมประสิทธิ์การทำนายเท่ากับ .121, .119 และ .216 ตามลำดับ (constant = 12.717) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 The purpose of this research is to study the level of resilience, coping, forgiveness. and to study the factors affecting the mental health of the military operations in the southern border provinces area. The sample was selected military stratified random sampling method. military unit is in the random number was 863 people. The correlational research data were collected using a questionnaire 5 portion which consists of 1) queries personal information 2) assessment of resilience. The reliability coefficient of Cronbach was 0.865. 3) assessment of coping. The reliability coefficient of Cronbach was 0.906. 4) test of forgiveness. The reliability of the coefficient of Cronbach was 0.878. 5) assessment of mental health status of soldiers stationed in the southern provinces. The reliability of the coefficient of Cronbach was 0.753. Statistical analysis is a multiple regression analysis. Stepwise Regression Analysis. The results 1. The military operations in the southern border provinces. resilience, the ability to coexist with others , the social support, to live with spiritual stability, ability to relax the stress and Solution to the problem in the high level. 2. The military operations in the southern border provinces have coping oriented problem, roofing reduce emotional and overall high level. 3. The military operations in the southern border provinces have a self-forgiveness forgive others, forgive the situation and in the overall Moderate level. 4. Resilience, coping and forgiveness. could predict the mental health of the military operations in the southern border provinces s by the coefficients of prediction = .121, .119 and . 216 respectively. (constant = 12.717) Statistically significant at the .01 level. 2018-03-27T07:33:25Z 2018-03-27T07:33:25Z 2559 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11764 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
จังหวัดชายแดนภาคใต้ สุขภาพจิต |
spellingShingle |
จังหวัดชายแดนภาคใต้ สุขภาพจิต อีซอ, รอหานา ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ |
description |
วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.(วิชาจิตวิทยา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559 |
author2 |
สุใจ ส่วนไพโรจน์ |
author_facet |
สุใจ ส่วนไพโรจน์ อีซอ, รอหานา |
format |
Theses and Dissertations |
author |
อีซอ, รอหานา |
author_sort |
อีซอ, รอหานา |
title |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ |
title_short |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ |
title_full |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ |
title_fullStr |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ |
title_full_unstemmed |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ |
title_sort |
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะสุขภาพจิตของทหารที่ปฏิบัติงานในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต้ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |
publishDate |
2018 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11764 |
_version_ |
1707054246942212096 |