ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ :การวิเคราะห์พหุระดับ
วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การวิจัยและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
2018
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11767 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-11767 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
พหุระดับ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ |
spellingShingle |
พหุระดับ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ มัรฎียะฮ์ เตล็บ ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ :การวิเคราะห์พหุระดับ |
description |
วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การวิจัยและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559 |
author2 |
มัฮดี แวดราแม |
author_facet |
มัฮดี แวดราแม มัรฎียะฮ์ เตล็บ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
มัรฎียะฮ์ เตล็บ |
author_sort |
มัรฎียะฮ์ เตล็บ |
title |
ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ :การวิเคราะห์พหุระดับ |
title_short |
ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ :การวิเคราะห์พหุระดับ |
title_full |
ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ :การวิเคราะห์พหุระดับ |
title_fullStr |
ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ :การวิเคราะห์พหุระดับ |
title_full_unstemmed |
ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ :การวิเคราะห์พหุระดับ |
title_sort |
ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ :การวิเคราะห์พหุระดับ |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |
publishDate |
2018 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11767 |
_version_ |
1707054247118372864 |
spelling |
th-psu.2016-117672021-07-24T14:20:06Z ปัจจัยที่ส่งเสริมการพัฒนาตนเองของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ :การวิเคราะห์พหุระดับ Factors Promoting Self-Improvement of Teachers under the Office of Primary Educational Area Service in the Three Southern Border Province : Multilevel Analysis มัรฎียะฮ์ เตล็บ มัฮดี แวดราแม Faculty of Education (Measurement and Educational Research) คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา พหุระดับ สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การวิจัยและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559 การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมวิธี (Mixed Methods Research) ประกอบด้วยวิธีการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัจจัยองค์การที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกเข้าศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาตามความคาดหวังและตามสภาพความเป็นจริงของนักศึกษาบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ 2) เปรียบ เทียบค่าความคาดหวังและค่าสภาพความเป็นจริงของปัจจัยองค์การ เพื่อหาปัจจัยที่ทำให้เกิดความไม่พึงพอใจ และเรียงลำดับความสำคัญของปัจจัยเหล่านั้น เพื่อค้นหาปัจจัยที่คาดว่าน่าจะเป็นสาเหตุของการลดลงของจำนวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษา 3) ศึกษาปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกเรียนระดับบัณฑิตศึกษา ตลอดจนสาเหตุที่ทำให้จำนวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาลดลง 4) ศึกษาและเสนอแนวทางการเพิ่มจำนวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณได้แก่นักศึกษาบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอกที่กำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์วิทยาเขตหาดใหญ่ ปีการศึกษา 2558 จำนวน 420 คน จาก 3 กลุ่มสาขาวิชา ได้แก่ กลุ่มวิทยาศาสตร์สุขภาพ กลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี และกลุ่มสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ 1) กลุ่มนักศึกษาบัณฑิตศึกษาระดับปริญญาโทและระดับปริญญาเอกที่กำลังศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ปีการศึกษา 2558 จำนวน 12 คน จาก 3 กลุ่มสาขาวิชา และ 2) กลุ่มประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร จำนวน 12 คน จาก 3 กลุ่มสาขาวิชา ส่วนผู้ประเมินแนวทางการเพิ่มจำนวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 ท่าน ประกอบด้วยผู้บริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยและผู้บริหารระดับคณะ/สถาบัน/ศูนย์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณเป็นแบบสอบถามแบบสำรวจรายการและแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้สถิติหาค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าการทดสอบ t-test ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหาและตีความสร้างข้อสรุปอุปนัย ผลการวิจัยพบว่า 1. ระดับปัจจัยองค์การที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกเรียนระดับบัณฑิตศึกษาตามความคาดหวังและตามสภาพความเป็นจริงของนักศึกษาบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ อยู่ในระดับมากทุกปัจจัย 2. การเปรียบเทียบค่าความคาดหวังและค่าสภาพความเป็นจริงของปัจจัยองค์การเพื่อหาปัจจัยที่ทำให้เกิดความไม่พึงพอใจ และคาดว่าน่าจะเป็นสาเหตุของการลดลงของจำนวนนักศึกษาบัณฑิต ศึกษา พบว่าระดับปัจจัยองค์การตามความคาดหวังและตามสภาพความเป็นจริงทุกปัจจัยมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 แสดงว่านักศึกษาไม่พึงพอใจต่อปัจจัยองค์การทุกปัจจัย เพราะมีระดับค่าความคาดหวังสูงกว่าความเป็นจริง เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัยพบว่าอาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมในสถาบันมีความแตกต่างมากที่สุด และช่องทางการเข้าถึงสถาบันมีความแตกต่างน้อยที่สุด 3. ปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการตัดสินใจเลือกเรียนระดับบัณฑิตศึกษา ตามความเห็นของประธานบริหารหลักสูตรและนักศึกษาบัณฑิตศึกษา ได้แก่ อาจารย์ (คูณภาพด้านการสอน คุณภาพด้านการวิจัย คุณสมบัติพื้นฐานของอาจารย์) งบประมาณ (ทุนการศึกษา-ทุนวิจัย) อาคารสถานที่และสภาพแวดล้อมของสถาบัน หลักสูตร (หลักสูตรเฉพาะสาขาวิชาชีพ หลักสูตรตามความต้องการของตลาดงาน หลักสูตรตามความต้องการของทุนสนับสนุนจากภายนอก ความยืดหยุ่นของหลักสูตร) ช่องทางการเข้าถึงสถาบัน และการส่งเสริมการตลาด (ภาพลักษณ์ทางวิชาการ การติดต่อสื่อสาร การได้รับทุนสนับสนุนจากแหล่งทุนภายใน ศิษย์เก่า) ส่วนสาเหตุที่ทำให้จำนวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษาลดลง ได้แก่ คุณภาพของหลักสูตร คุณภาพของอาจารย์ คุณสมบัติหรือจำนวนนักศึกษาที่ต้องการเรียนต่อ ค่าใช้จ่ายในการศึกษาและทุนการศึกษา การให้ บริการแก่นักศึกษาและเจ้าหน้าที่ประจำหลักสูตร และปัญหาจากปัจจัยภายนอก (ปัจจัยทางเศรษฐกิจ ปัจจัยทางการเมืองและสังคม) 4. แนวทางการเพิ่มจำนวนนักศึกษาบัณฑิตศึกษา มีดังนี้ 4.1 การส่งเสริมการตลาด ได้แก่ การรักษาและพัฒนาภาพลักษณ์ของการเป็นมหาวิทยาลัยแห่งคุณภาพทางวิชาการ การใช้วิธีการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ ต้นทุนต่ำ และเข้าถึงกลุ่มเป้า หมาย การจัดสรรทุนการศึกษาและทุนสนับสนุนการวิจัยที่เพียงพอ เครือข่ายศิษย์เก่าและศิษย์เก่า 4.2 งบประมาณ ได้แก่ การวิเคราะห์ค่าใช้จ่ายและประเมินความคุ้มค่าของการบริหารหลักสูตร การจำแนกรายการค่าใช้จ่ายในการเรียนตลอดหลักสูตร การเทียบเคียงค่าใช้จ่ายกับหลักสูตรที่เปิดสอนในสถาบันอื่น 4.3 หลักสูตร ได้แก่ การเปิดสอนหลักสูตรใหม่ตามความต้องการของตลาดแรงงาน การเปิดสอนหลักสูตรที่เน้นความร่วมมือกับหน่วยงานภายนอก การเปิดสอนหลักสูตรสำหรับกลุ่มลูกค้าใหม่และผสมผสานจากหลายศาสตร์ และความยืดหยุ่นของการศึกษา 4.4 อาจารย์ ได้แก่ การรักษาคนเก่งและคนดีไว้กับมหาวิทยาลัย และการเพิ่มจำนวนอาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษาThis research is mixed methods research, consist of qualitative and quantitative approaches. The objectives of this research were (1) to study the level of important factors for student's decision making to study in graduate programs according to the expectations and existing condition (2) to compare organization factor's expectations and existing condition, to find the causal factors of student dissatisfaction (3) studying the important factor for student's decision making to study in graduate programs and decreasing the number of graduate student (4) to study and propose guideline in increasing the number of graduate students. Researcher has selected mixed methods triangulation design procedures in which implement the quantitative and qualitative methods during the same timeframe and with equal weight eg. collecting, analyzing, interpreting, and reporting data. The quantitative data was collected by sample consisted of 420 graduate students. The instrument was questionnaires. The analysis statistic were percentage (%), mean ( ), standard deviation (S.D.) and t-test. The qualitative data was collected by a semi-structured in-depth interview for 12 graduate student and 12 graduate program chairpersons selected by a purposive sampling technique. The qualitative data is verified by content analysis. The research findings were as follows: 1. The level of important factors for student's decision making to study in graduate program according to student's the expectation and existing condition were at the high level. 2. Comparison the expectation and existing condition in a whole were significantly different at .05 level. The level of expectations are higher than existing conditions. 3. The important factors for students' decision making to study in graduate programs by the qualitative method are lecturer, tuition fees and scholarship, building and facilities, program, location and marketing.The impact factor causing decrease in the number of graduate students are quality program, quality lecturers, student qualifications, expense study and scholarship, student services officer and external environment. 4. Guidelines to increase the numbers of graduate student should be based on the quality and improve the strategy for promotion marketing, expense study, program and lecturers. 2018-03-27T08:03:25Z 2018-03-27T08:03:25Z 2560 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11767 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |