การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานอู่ซ่อมรถยนต์ : กรณีศึกษา

วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการอุตสาหกรรม), 2561

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วรายุทธ จันทร์พราหมณ์
Other Authors: วนิดา รัตนมณี
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2018
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11887
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-11887
record_format dspace
spelling th-psu.2016-118872019-02-18T20:10:17Z การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานอู่ซ่อมรถยนต์ : กรณีศึกษา Improved performance in automobile repair garage : A case study วรายุทธ จันทร์พราหมณ์ วนิดา รัตนมณี Faculty of Engineering (Industrial Engineering) คณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ การทำงาน ประสิทธิภาพ วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการอุตสาหกรรม), 2561 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อลดเปอร์เซ็นต์จำนวนรถที่ส่งมอบล้าช้าลงอย่างน้อย 10 เปอร์เซ็นต์ ในกรณีการซ่อมงานประเภท A และ B ของกรณีศึกษา จากการศึกษาและวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานหลักมีงาน 9 ขั้นตอนที่ใช้เวลามากกว่า 30 นาที จึงทำการวิเคราะห์ขั้นตอนการทำงานย่อยอย่างละเอียดด้วยแผนภูมิการไหลของงานเหล่านั้น เพื่อหางานย่อยที่ใช้เวลานาน จากนั้นวิเคราะห์สาเหตุความล่าช้าด้วยทฤษฎีการวิเคราะห์ปัญหาด้วยหลักการ ทําไม-ทําไม สุดท้ายมีการหาแนวทางการแก้ไข ผลลัพธ์ในการดำเนินงานวิจัย พบว่าสาเหตุความล่าช้าจากงานย่อยคือ 1) ไม่มีการจัดพื้นที่การทำงาน 2) ไม่มีการแบ่งประเภทพื้นที่การทำงาน 3) ไม่มีการจัดเก็บเครื่องมือ 4) ไม่มีการลงทุนเครื่องมือทุ่นแรง 5) ไม่มีมาตรฐานการพ่นสีที่ถูกต้อง 6) ไม่มีจุดวางอะไหล่รถขณะซ่อม จากสาเหตุดังกล่าวได้มีการนำเสนอแนวการแก้ไข พร้อมปฏิบัติจริง และนำไปใช้แก้ปัญหาโดยทำตามแนวทางการแก้ไขดังนี้ 1) จัดทำ 5ส. พื้นที่การทำงาน 2) การจัดโซนการทำงานของงานแต่ละประเภท 3) จัดทำแผงเครื่องมือและอุปกรณ์ 4) จัดทำจุดจัดเก็บอะไหล่ในขณะรถซ่อม 5) เพิ่มเครื่องขัดสีกระดาษทรายกลม 6) จัดทำให้เป็นมาตรฐาน หลังจากได้ปฏิบัติเสร็จแล้ว พบว่าอัตราการส่งมอบรถล่าช้าของงานประเภท A จากเดิม 40.96% เหลือ 14.27% สามารถลดเปอร์เซ็นต์จำนวนรถที่ส่งมอบล้าช้าได้ 26.69% และสามารถลดเวลาการทำงานของงานประเภท A ก่อนปรับปรุงใช้เวลา 1717 นาที และหลังปรับปรุงใช้เวลา 1338 นาที ลดลง 379 นาที และอัตราการส่งมอบรถล่าช้าของงานประเภท B จากเดิม 52.50% เหลือ 28.84% สามารถลดเปอร์เซ็นต์จำนวนรถที่ส่งมอบล้าช้าได้ 23.66% และสามารถลดเวลาการทำงานของงานประเภท B ก่อนปรับปรุงใช้เวลา 2447 นาที และหลังปรับปรุงใช้เวลา 1788 นาที ลดลง 659 นาที สรุปได้ว่าการนำความรู้จากเทคนิคอุตสาหกรรม มาใช้ในการแก้ไขได้จริง 2018-10-21T02:55:13Z 2018-10-21T02:55:13Z 2561 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11887 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การทำงาน
ประสิทธิภาพ
spellingShingle การทำงาน
ประสิทธิภาพ
วรายุทธ จันทร์พราหมณ์
การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานอู่ซ่อมรถยนต์ : กรณีศึกษา
description วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (การจัดการอุตสาหกรรม), 2561
author2 วนิดา รัตนมณี
author_facet วนิดา รัตนมณี
วรายุทธ จันทร์พราหมณ์
format Theses and Dissertations
author วรายุทธ จันทร์พราหมณ์
author_sort วรายุทธ จันทร์พราหมณ์
title การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานอู่ซ่อมรถยนต์ : กรณีศึกษา
title_short การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานอู่ซ่อมรถยนต์ : กรณีศึกษา
title_full การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานอู่ซ่อมรถยนต์ : กรณีศึกษา
title_fullStr การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานอู่ซ่อมรถยนต์ : กรณีศึกษา
title_full_unstemmed การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานอู่ซ่อมรถยนต์ : กรณีศึกษา
title_sort การปรับปรุงประสิทธิภาพการทำงานอู่ซ่อมรถยนต์ : กรณีศึกษา
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2018
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11887
_version_ 1681754171701723136