การใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรมในกฎหมายครอบครัวและมรดก ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับกฎหมายไทย

วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.(อิสลามศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อับดุลรอยะ, บินเซ็ง
Other Authors: อิบรอฮีม, ณรงค์รักษาเขต
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี 2019
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11931
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-11931
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ศาสนาอิสลาม
อิสลามศึกษา
spellingShingle ศาสนาอิสลาม
อิสลามศึกษา
อับดุลรอยะ, บินเซ็ง
การใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรมในกฎหมายครอบครัวและมรดก ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับกฎหมายไทย
description วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.(อิสลามศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560
author2 อิบรอฮีม, ณรงค์รักษาเขต
author_facet อิบรอฮีม, ณรงค์รักษาเขต
อับดุลรอยะ, บินเซ็ง
format Theses and Dissertations
author อับดุลรอยะ, บินเซ็ง
author_sort อับดุลรอยะ, บินเซ็ง
title การใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรมในกฎหมายครอบครัวและมรดก ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับกฎหมายไทย
title_short การใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรมในกฎหมายครอบครัวและมรดก ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับกฎหมายไทย
title_full การใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรมในกฎหมายครอบครัวและมรดก ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับกฎหมายไทย
title_fullStr การใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรมในกฎหมายครอบครัวและมรดก ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับกฎหมายไทย
title_full_unstemmed การใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรมในกฎหมายครอบครัวและมรดก ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับกฎหมายไทย
title_sort การใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรมในกฎหมายครอบครัวและมรดก ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับกฎหมายไทย
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
publishDate 2019
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11931
_version_ 1681754377396682752
spelling th-psu.2016-119312019-02-18T20:11:47Z การใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรมในกฎหมายครอบครัวและมรดก ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับกฎหมายไทย The Use of Individual Identity on Genetic Regarding to Family and Heritage Law, A Comparative Study between Islamic and Thai Law อับดุลรอยะ, บินเซ็ง อิบรอฮีม, ณรงค์รักษาเขต College of Islamic Studies (Islamic Studies) วิทยาลัยอิสลามศึกษา (อิสลามศึกษา) ศาสนาอิสลาม อิสลามศึกษา วิทยานิพนธ์ (ปร.ด.(อิสลามศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2560 การวิจัยเรื่องการใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรมในกฎหมายครอบครัวและมรดก ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับกฎหมายไทย เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้วิธีวิทยาผสานวิธีภาคสนามในการจัดเก็บข้อมูลและรวบรวมข้อมูลจากภาคสนามด้วยการสัมภาษณ์บุคคลที่มีความเกี่ยวข้อง โดยมีวัตถุประสงค์ คือ 1)เพื่อศึกษาการใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรม ( ดีเอ็นเอ ) ในกฎหมายครอบครัวและมรดกอิสลาม 2) ศึกษาการใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรม ( ดีเอ็นเอ ) ในกฎหมายครอบครัวและมรดกในกฎหมายแพ่งของไทย 3)ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างกฎหมายอิสลามกับกฎหมายแพ่งของไทยเกี่ยวกับการใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรม ( ดีเอ็นเอ ) ในกรณีครอบครัวและมรดกและ4)เพื่อนำเสนอรูปแบบการใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรมในกฎหมายครอบครัวและมรดกอิสลามในประเทศไทย ศึกษาสัมภาษณ์กลุ่มตัวอย่างที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงกับกระบวนการร่างกฎหมาย ฟัตวาการใช้กฎหมายครอบครัวและมรดกอิสลาม คือนักวิชาการอิสลามด้านกฎหมายอิสลาม ดะโต๊ะยุติธรรม ผู้พิพากษาและนักกฎหมายมุสลิม จำนวน 20 คน ผลการวิจัยพบว่าประเทศอิสลามคือ ประเทศอียิปต์ ประเทศซาอุดิอาระเบียและประเทศมาเลเซียได้บัญญัติใช้ผู้เชี่ยวชาญเอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกกรมในหลาย ๆ มาตรา ในการนี้นักวิชาการอิสลามเห็นว่า สามารถใช้ยืนยันตัวบุคคลได้ในกรณีการพลัดพราก การสลับตัวทารกตามสถานพยาบาล การยืนยันบุคคลสาบสูญและอื่นๆ ประเทศไทยได้บัญญัติการใช้ผู้เชี่ยวชาญในประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาได้จัดตั้งสถาบันนิติวิทยาศาสตร์ในสังกัดกระทรวงยุติธรรม ปีพ.ศ. 2547 แก้ไข ประมวลวิพิจารณาความอาญา เพิ่มเติมฉบับที่ 22 ให้อำนาจเจ้าพนักงานสอบสวนรวบรวมหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ หลังจากได้เปรียบเทียบระหว่างกฎหมายไทยกับกฎหมาอิสลามแล้วพบว่ากฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งของประเทศอิสลามกำหนดใช้ผู้เชี่ยวชาญในภาพรวมมีความสอดคล้องกับประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งและประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญาของไทย แต่ของไทยกำหนดใช้พยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร์ได้ชัดเจนกว่า ส่วนรูปแบบการใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรมในกฎหมายครอบครัวและมรดกอิสลามไทย ผู้ให้สัมภาษณ์เห็นพ้องให้ใช้ผู้เชี่ยวชาญด้านเอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรม(ดีเอ็นเอ)โดยให้เสนอแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติว่าด้วยการใช้กฎหมายอิสลามในเขตจังหวัดปัตตานี นราธิวาส ยะลา และสตูล พุทธศักราช 2489 ให้มีความสอดคล้องกับรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2540 และให้ใช้บังคับในชั้นศาล เนื่องจากมีกฎหมายรับรองการวินิจฉัยชี้ขาด และมีความพร้อมทั้งสถานที่และบุคลากร ต่างกับสำนักงานคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด การวินิจฉัยตัดสินชี้ขาดไม่มีผลทางกฎหมาย ส่วนด้านการเตรียมตัวนักวิชาการและผู้เชี่ยวชาญการใช้เอกลักษณ์บุคคลว่าด้วยสารพันธุกรรม (ดีเอ็นเอ) จำเป็นและสำคัญอย่างยิ่งต้องเตรียมบุคลากรมุสลิมให้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านนี้ ซึ่งจะทำให้สามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในการตรวจพิสูจน์ จะทำให้ประชาชนชาวไทยมุสลิมมีสบายใจในผลการตรวจพิสูจน์ และส่งเสริมให้มีผู้เชี่ยวชาญคณะกรรมการอิสลามประจำจังหวัด เป็นผู้สอบผ่านระดับความเป็นผู้เชี่ยวชาญในระดับเนติบัณฑิตด้วย แต่หากไม่สามารถหามาได้ ก็ให้ใช้ผู้เชี่ยวชาญที่ไม่ใช่มุสลิมได้โดยอนุโลม The purposes of this study were to examine the use of Individual identity on Genetic regarding to Family and Heritage law, A Comparative study between Islamic and Thai law, to compare between Islamic and Thai laws concerning the utilization of the individual identification on the genetic materials in the case of family and inheritance. Moreover, the study also aimed to present the utilization model of the individual identification on genetic materials in the eye of the two laws in Thailand. The samples of the study were 20 lawmakers and those who involved in the use of the Islamic family law and inheritance such as Islamic law scholars, judges, and lawyers. The data collection was conducted through documents and interviews. The results of the study revealed that Muslim countries, e.g., Egypt, Saudi Arabia, Malaysia, have legislated experts in several clauses for the utilization of the individual identification on the genetic materials in the eye of Islamic family law and inheritance. Furthermore, Islamic scholars viewed that experts could use the results of DNA fingerprint for the individual identification in many cases such as severance, babies switch, and missing people. In the same vein, Thailand has also legislated the use of the experts in the code of law regarding civil and criminal procedure in 2002. Ministerial legislation was announced giving rise to the establishment of Central Institute of Forensic Science, which was under Ministry of Justice. It was later on amended into issue 21 additional criminal procedural law in 2004. The law has given inquiry officials the power to collect both scientific and non-scientific evidence. When it comes to comparing between the Islamic family law and inheritance and the Thai law regarding the use of the individual identification on the genetic materials, the study showed that the code of law regarding the use of the experts of the Muslim countries was congruent with the code of civil and criminal procedural laws of Thailand. Additionally, the study disclosed that the civil and criminal procedural laws of Thailand apparently stipulated scientific evidence when comparing to those the Muslim countries. In connection with the model of the employment of the individual identification in the eye of the Islamic family law and inheritance in Thailand, the results of the study suggested that the all interviewees agreed the experts who were specialized in family and inheritance lawsuit in Thailand should be utilized. The interviewees also stated that Islamic law act 1946 imposed in the area of Pattani,Narathiwas,Yala, and Satun should be amended so that it could be in line with the constitution of the Kingdom of Thailand 1997. The model should be used in the court, which was more suitable in terms of place and personnel than Islamic provincial committees. More importantly, the committees had no power and were not in a position to judge the issues. Therefore, it can be concluded that their judgement had no legal effect. If the Islamic provincial committees were needed to pass the judgement on the genetic materials issues, they initially needed to have expertise who level was barrister-at-law. However, no one was specialized in passing the judgement on the issues among the Islamic provincial committees, but there were experts on the issues in the courts. In addition, to prepare the scholars and experts in order to utilize the individual identification on the genetic materials, the study found that the interviewees stressed the importance of the inclusion of the use of the experts in Islamic code of law. The study also revealed that it was of paramount importance to prepare Muslim officials to be an experts regarding these issues. One of the interviewees expressed that ‘Muslim officials needed abilities and understanding about individual identification authentication so that they might get involved in inspecting. More importantly, Muslims in Thailand could be pleased with the authentication by the Muslim experts. Apart from what has been mentioned earlier, litigants, to some extent, would be pleased. If there were no Muslim experts, non-Muslim experts could also be flexibly used. 2019-01-03T03:58:03Z 2019-01-03T03:58:03Z 2560 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11931 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี