รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี
วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การวิจัยและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12154 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-12154 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-121542021-09-27T04:50:43Z รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี มักตา จะปะกิยา ชิดชนก เชิงเชาว์ Faculty of Education (Measurement and Educational Research) คณะศึกษาศาสตร์ ภาควิชาประเมินผลและวิจัยทางการศึกษา ศาสนาอิสลาม อิสลามศึกษา วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การวิจัยและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะครูสามัญ และเพื่อพัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน อ.เมือง จ.ปัตตานีกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในงานวิจัยคือครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน อำเภอเมือง จังหวัดปัตตานี ในปีการศึกษา 2560 จำนวน 420 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามสำหรับครู จำนวน 1 ฉบับ การวิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติเชิงอ้างอิง โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูป SPSS การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์อิทธิพล โดยใช้โปรแกรม LISREL ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ระดับสมรรถนะครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนา โดยภาพรวม พบว่าครูมีสมรรถนะอยู่ในระดับมาก (Mean=4.05) เมื่อพิจารณาแต่ละองค์ประกอบ พบว่า องค์ประกอบด้านสมรรถนะหลัก ด้านจริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพครู มีคะแนนสูงที่สุด (Mean=4.22) รองลงมาตัวบ่งชี้ด้านการบริการที่ดี (Mean=4.21) สำหรับองค์ประกอบด้านสมรรถนะประจำสายงาน โดยตัวบ่งชี้ด้านการพัฒนาผู้เรียน มีคะแนนค่าเฉลี่ยสูงสุด (Mean=4.05) รองลงมา ด้านการบริหารจัดการชั้นเรียน (Mean=4.03) 2. ผลการพัฒนาและตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลรูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม ที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พบว่า โมเดลมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ พิจารณาจากค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนระหว่างโมเดลกับข้อมูลเชิงประจักษ์( =298.44,df=107,p=.00,GFI=.93,AGFI=.87,CFI=.98,SRMR=.010 ,RMSEA =.065, NFI = .98) เมื่อพิจารณาค่าอิทธิพลทางตรง พบว่า ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงต่อสมรรถนะหลักและสมรรถนะประจำสายงสน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สูงสุดคือ ตัวแปรด้านปัจจัยค้ำจุน โดยมีขนาดอิทธิพลเท่ากับ .32 และ .76 ตามลำดับ รองลงมาคือตัวแปรปัจจัยแรงจูงใจ โดยมีขนาดอิทธิพลเท่ากับ .20 และ .53 ตามลำดับ The purpose of this research were to study the level of the competency of teacher and to develop the variable of a causal model relationship of competency of ordinary teachers in Islamic private schools under office of the private education, Muang district, Pattani province. The sample of this study was 420 teachers of academic year 2017 all of those who gave additional information. The questionnaire was used the research instrument. Data were analyzed using descriptive statistic, confirmatory factor analysis, and Path analysis by LISREL. Results were the following 1. Performance Level of teachers of Islamic private schools overall, the teachers' performance was at the high level (Mean = 4.05). Ethics and Code of Conduct for Teachers. The highest average score was (Mean = 4.22), followed by the good service indicator (Mean = 4.21) for the performance component. By the indicator of student development. The average score was (Mean = 4.05), followed by class management (Mean = 4.03) 2. The results of model validation of the causal relationship model of teachers' Islamic private teacher performance. The results showed that the model was consistent with the empirical data. Determine the level of harmony between the models and the empirical data( =298.44 , df=107 ,p=.00 ,GFI= .93 ,AGFI= .87 ,CFI= .98,SRMR=.010 ,RMSEA =.065, NFI = .98). When considering the direct influence, it was found that the variables directly influenced the core competencies and performance. At the .05 level the highest was the support factor. 32 and 76 respectively, followed by motivational factors. The effect sizes were .20 and .53, respectively. 2019-03-20T08:28:51Z 2019-03-20T08:28:51Z 2561 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12154 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
ศาสนาอิสลาม อิสลามศึกษา |
spellingShingle |
ศาสนาอิสลาม อิสลามศึกษา มักตา จะปะกิยา รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี |
description |
วิทยานิพนธ์ (ศษ.ม.(การวิจัยและประเมินผลการศึกษา))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 |
author2 |
ชิดชนก เชิงเชาว์ |
author_facet |
ชิดชนก เชิงเชาว์ มักตา จะปะกิยา |
format |
Theses and Dissertations |
author |
มักตา จะปะกิยา |
author_sort |
มักตา จะปะกิยา |
title |
รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี |
title_short |
รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี |
title_full |
รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี |
title_fullStr |
รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี |
title_full_unstemmed |
รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี |
title_sort |
รูปแบบความสัมพันธ์เชิงสาเหตุของสมรรถนะครูสามัญในโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม สังกัดสานักงานการศึกษาเอกชน อาเภอเมือง จังหวัดปัตตานี |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |
publishDate |
2019 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12154 |
_version_ |
1735499245690028032 |