โรคและปรสิตของปลากดเหลือง Mystus nemurus (Cuvier & Valencieness, 1893) จากการเพาะเลี้ยงในอาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.(เทคโนโลยีการประมง))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี
2019
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12156 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-12156 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
การเพาะเลี้ยง ปลากดเหลือง |
spellingShingle |
การเพาะเลี้ยง ปลากดเหลือง โซเฟีย, จารุประสิทธ์ โรคและปรสิตของปลากดเหลือง Mystus nemurus (Cuvier & Valencieness, 1893) จากการเพาะเลี้ยงในอาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา |
description |
วิทยานิพนธ์ (วท.ม.(เทคโนโลยีการประมง))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 |
author2 |
นิรัติศัย, เพชรสุภา |
author_facet |
นิรัติศัย, เพชรสุภา โซเฟีย, จารุประสิทธ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
โซเฟีย, จารุประสิทธ์ |
author_sort |
โซเฟีย, จารุประสิทธ์ |
title |
โรคและปรสิตของปลากดเหลือง Mystus nemurus (Cuvier & Valencieness, 1893) จากการเพาะเลี้ยงในอาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา |
title_short |
โรคและปรสิตของปลากดเหลือง Mystus nemurus (Cuvier & Valencieness, 1893) จากการเพาะเลี้ยงในอาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา |
title_full |
โรคและปรสิตของปลากดเหลือง Mystus nemurus (Cuvier & Valencieness, 1893) จากการเพาะเลี้ยงในอาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา |
title_fullStr |
โรคและปรสิตของปลากดเหลือง Mystus nemurus (Cuvier & Valencieness, 1893) จากการเพาะเลี้ยงในอาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา |
title_full_unstemmed |
โรคและปรสิตของปลากดเหลือง Mystus nemurus (Cuvier & Valencieness, 1893) จากการเพาะเลี้ยงในอาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา |
title_sort |
โรคและปรสิตของปลากดเหลือง mystus nemurus (cuvier & valencieness, 1893) จากการเพาะเลี้ยงในอาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |
publishDate |
2019 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12156 |
_version_ |
1681754261836267520 |
spelling |
th-psu.2016-121562019-03-21T20:09:47Z โรคและปรสิตของปลากดเหลือง Mystus nemurus (Cuvier & Valencieness, 1893) จากการเพาะเลี้ยงในอาเภอสะเดา จังหวัดสงขลา Diseases and Parasites of Green Catfish Mystus nemurus (Cuvier & Valencieness, 1893) Cultured in Sadao District, Songkhla Province โซเฟีย, จารุประสิทธ์ นิรัติศัย, เพชรสุภา Faculty of Sciecnce and Technology (Technology and Industries) คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภาควิชาเทคโนโลยีและการอุตสาหกรรม การเพาะเลี้ยง ปลากดเหลือง วิทยานิพนธ์ (วท.ม.(เทคโนโลยีการประมง))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 การศึกษาโรคและปรสิตของปลากดเหลือง Mystus nemurus (Cuvier & Valencieness, 1893) จากการเพาะเลี้ยงในอำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา กำหนดจุดเก็บตัวอย่างปลาในชุดเดียวกันเป็น 3 จุด ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับปลาในฟาร์มเลี้ยงในอำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา ได้แก่ จุดที่ 1 กระชังรวบรวมพ่อแม่พันธุ์ปลากดเหลืองในอำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นแหล่งรวบรวมพ่อแม่พันธุ์จากธรรมชาติเพื่อนำมาใช้เป็นพ่อแม่พันธุ์ในจุดที่ 2 คือ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ำจืดเขต 12 สงขลา อำเภอคลองหอยโข่ง จังหวัดสงขลา ซึ่งเป็นแหล่งผลิตพันธุ์ลูกปลาและอนุบาลลูกปลาก่อนนำไปเลี้ยงจนได้ขนาดตลาดในจุดที่ 3 คือ กระชังเลี้ยงปลากดเหลืองในอำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา โดยเก็บตัวอย่างปลาเพื่อการศึกษาโรคและปรสิต ตั้งแต่เดือนสิงหาคม 2558 - กรกฎาคม 2559 เป็นระยะเวลา 1 ปี รวมถึงศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางพยาธิสภาพของเนื้อเยื่ออันเนื่องมาจากปรสิตและแบคทีเรีย และการวิเคราะห์คุณภาพน้ำบางประการเพื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของคุณภาพน้ำกับการติดเชื้อปรสิตและแบคทีเรีย ผลการศึกษาพบว่าในปลาที่เก็บตัวอย่างจากจุดที่ 1 พบปลาที่มีปรสิตร้อยละ 46.66 (n=30) ชนิดของปรสิตที่พบในปลากลุ่มนี้ ได้แก่ โมโนจีน Thaparocleidus pahangensis, Thaparocleidus sp. และ Cornudiscoides malayensis ส่วนชนิดของแบคทีเรียที่พบในปลากลุ่มนี้ ได้แก่ Edwardsiella ictaluri และ Flavobacterium columnare ในขณะที่ผลการศึกษาจากตัวอย่างของพ่อแม่พันธุ์ปลาที่นำมาเพื่อผลิตลูกปลา พบโมโนจีน 3 ชนิด ซึ่งเป็นชนิดเดียวกับที่พบในพ่อแม่พันธุ์ที่เก็บตัวอย่างจากอำเภอบางกล่ำ จังหวัดสงขลา แต่ไม่พบแบคทีเรีย ส่วนลูกปลากดเหลืองจากจุดที่ 2 ที่ได้จากผสมเทียมของพ่อแม่พันธุ์ในกลุ่มนี้ได้นำมาอนุบาลในบ่อปูน 7 วัน จากนั้นนำมาอนุบาลต่อในบ่อดิน 30 วัน ผลการศึกษาพบว่า ลูกปลามีปรสิตร้อยละ 50 (n=50) โดยปรสิตที่พบในลูกปลาเป็นปรสิตกลุ่มโปรโตซัว 3 ชนิด คือ Trichodina pediculus, T. jadranica, T. heterodentata และแบคทีเรียที่พบในลูกปลา 6 ชนิด คือ Aeromonas hydrophila, Edwardsiella tarda, E. ictaluri, Flavobacterium columnare, Pseudomonas aeruginosa และ Streptococcus iniae โดย Trichodina pediculus เป็นปรสิตที่พบมากที่สุดในลูกปลา คิดเป็นร้อยละ 44 (n=50) และความหนาแน่นเฉลี่ยของ T. pediculus เท่ากับ 20.68 ตัว ต่อปลา 1 ตัว ส่วนผลการศึกษาปรสิตและแบคทีเรียในปลากดเหลืองที่เลี้ยงในกระชังในจุดที่ 3 ซึ่งได้นำลูกปลาที่ผ่านการอนุบาลจากจุดที่ 2 มาเลี้ยงต่อในกระชัง พบโมโนจีน 4 ชนิด คือ Bifurcohaptor baungi, Thaparocleidus pahangensis, Thaparocleidus sp., Cornudiscoides malayensis และพยาธิใบไม้ 1 ชนิด คือ Haplorchoides sp. ส่วนแบคทีเรียที่พบในปลากลุ่มนี้ มี 5 ชนิด คือ Aeromonas sobria, Edwardsiella tarda, Flavobacterium columnare, Pseudomonas aeruginosa และ Streptococcus iniae ความชุกของปรสิต Thaparocleidus pahangensis พบมากที่สุดในปลากลุ่มนี้ คิดเป็นร้อยละ 31.43 (n=70) และความหนาแน่นเฉลี่ยของปรสิตชนิดนี้เท่ากับ 15.68 ตัว/ปลา 1 ตัว พยาธิสภาพบริเวณเหงือกที่เกิดจากปรสิตกลุ่มโปรโตซัว และโมโนจีน พบการเพิ่มจำนวนเซลล์ (hyperplasia) การเสื่อมสภาพของเซลล์ (degeneration) การบวมน้ำ (edema) และการตายของเซลล์ (necrosis) ส่วนพยาธิสภาพของตับ ไต และม้ามที่พบการติดเชื้อแบคทีเรีย พบการเพิ่มจำนวนเซลล์ การเสื่อมสภาพของเซลล์ การบวมน้ำ การตายของเซลล์ การตกเลือด (hemorrhage) และเมลาโนแมคโครฟาจ (melanomacrophage) เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปรสิตในปลากับคุณภาพน้ำโดยใช้สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson correlation) ผลการวิเคราะห์ พบว่า ในจุดที่ 1 ความหนาแน่นเฉลี่ยของThaparocleidus sp. มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิของน้ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนความหนาแน่นเฉลี่ยของ Thaparocleidus pahangensis และ Cornudiscoides malayensis มีความสัมพันธ์กับความเข้มข้นของแอมโมเนีย นอกจากนี้ Thaparocleidus sp. ยังมีความสัมพันธ์โดยตรงกับปริมาณไนไตรท์และความโปร่งแสงของแหล่งน้ำ แต่มีความสัมพันธ์แบบผกผันกับความเป็นกรดเป็นด่างและความเป็นด่างของน้ำอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนในจุดที่ 2 พบว่า ความหนาแน่นเฉลี่ยของปรสิตทุกชนิดไม่มีความสัมพันธ์กับอุณหภูมิและความเป็นด่างของน้ำ แต่ความหนาแน่นเฉลี่ยของปรสิต Trichodina pediculus และ T. jadranica มีความสัมพันธ์โดยตรงกับความเป็นกรดเป็นด่างและปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ นอกจากนี้ความหนาแน่นเฉลี่ยของ T. pediculus ยังมีความสัมพันธ์โดยตรงกับปริมาณแอมโมเนียในแหล่งน้ำ อย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) และในจุดที่ 3 พบว่า ความหนาแน่นของปรสิตทุกชนิดที่พบ ไม่มีความสัมพันธ์กับปริมาณออกซิเจนละลายน้ำ ความเป็นด่างของน้ำ ความเข้มข้นของแอมโมเนีย และปริมาณไนไตรท์ในน้ำ แต่อุณหภูมิของน้ำมีความสัมพันธ์แบบผกพันกับความหนาแน่นเฉลี่ยของปรสิต Bifurcohaptor baungi และ Cornudiscoides malayensis อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และความเป็นกรดเป็นด่าง มีความสัมพันธ์แบบผกผันกับความหนาแน่นของปรสิต Bifurcohaptor baungi และ Thaparocleidus sp. นอกจากนี้ความหนาแน่นเฉลี่ยของ Bifurcohaptor baungi ยังมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความโปร่งแสงของแหล่งน้ำในกระชังอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปรสิตในปลากับการติดเชื้อแบคทีเรีย โดยใช้การทดสอบ t-test พบว่า ความหนาแน่นเฉลี่ยของปรสิต Trichodina pediculus และ Bifurcohaptor baungi มีความสัมพันธ์โดยตรงกับการติดเชื้อแบคทีเรียอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ส่วนความสัมพันธ์ระหว่างการติดเชื้อแบคทีเรียในปลากับคุณภาพน้ำ พบว่า ความเข้มข้นของแอมโมเนียไนโตรเจนเฉลี่ยในแหล่งน้ำของกลุ่มปลาที่ติดเชื้อแบคทีเรียมีปริมาณสูงกว่ากลุ่มปลาที่ไม่มีการติดเชื้อแบคทีเรียอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) และความสัมพันธ์ระหว่างการพบปรสิตบริเวณเหงือกกับการเกิดพยาธิสภาพที่เหงือก พบว่าการพบปรสิตมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการเกิดพยาธิสภาพที่เหงือกอย่างมีนัยสำคัญยิ่งทางสถิติ (p<0.01) ในขณะที่ปลากดเหลืองที่มีการติดเชื้อแบคทีเรียบริเวณไตและม้ามมีความสัมพันธ์โดยตรงกับการเกิดพยาธิสภาพของทั้งสองบริเวณอย่างมีนัยสำคัญยิ่ง ทางสถิติ (p<0.01) Diseases and parasites of green catfish, Mystus nemurus (Cuvier & Valencieness,1893), from culture in Sadao District, Songkhla Province were studied by setting 3 fish sample collection areas related to the fish in the culture farm in Sadao District, Songkhla Province. These collection areas were the first area from broodstock collection area in Bang Klam District, Songkhla which was the source to collect the broodstock from nature to utilize as the broodstock for produce the fish larvae in the second collection area which was Inland Aquaculture Research and Development Regional Center 12, Khlong Hoi Khong District, Songkhla. This is the source to produce the fish larvae and nursery them before to be cultured in the cage in the third collection area. The third area was the green catfish cultured cage in Sadao District, Songkhla Province. The study was performed by collecting the catfish samples from each area from August 2016 to July 2017 for study on parasitic infestation and bacterial infection. These included histopathological changes owing to the parasites and the bacteria and analysis of some water quality parameters to analyse relationship of water quality and parasitic infestation and bacterial infection. Result were that the fish collected from the first area was found to be parasite infestation at 46.66% of all examined fish (n=30). The parasites found in these fish were Monogenes, Thaparocleidus pahangensis, Thaparocleidus sp. and Cornudiscoides malayensis, while the bacteria were Edwardsiella ictaluri and Flavobacterium columnare. On the fish sample of the broodstock for producing fish larvae, there were Thaparocleidus pahangensis, Thaparocleidus sp. and Cornudiscoides malayensis, no bacteria were found in these fish. The fish larvae getting from the broodstock from this group were nursed in the cement pond for 7 days, following by nursing in the earthen pond for 30 days. These fish fry were examined for parasites and bacteria. The result of the fish fry examination was that the parasite infested fish was 50% of all examined fish (n=50). Three species of protozoan parasites, Trichodina pediculus, T. jadranica, T. heterodentata and 6 species of bacteria, Aeromonas hydrophila, Edwardsiella tarda, E. ictaluri, Flavobacterium columnare, Pseudomonas aeruginosa and Streptococcus iniae were found in these fish. Moreover, Trichodina pediculus was the most prevalence seen in these fish at 44% of all examined fish (n=50) and mean intensity of T. pediculus was 20.68 individuals per fish. The result of the parasites and bacteria in the fish cultured in the cage at the third area which the fish fry from the second area were brought to be cultured, was that 4 species of monogenes, Bifurcohaptor baungi, Thaparocleidus pahangensis, Thaparocleidus sp., Cornudiscoides malayensis, and 1 species of digene, Haplorchoides sp., were found in these fish. In addition, 5 species of bacteria, Aeromonas sobria, Edwardsiella tarda, Flavobacterium columnare, Pseudomonas aeruginosa and Streptococcus iniae were isolated from these fish. Prevalence of fish infested with Thaparocleidus pahangensis was the most at 31.43 of all examined fish (n=70) and the mean intensity of T. pahangensis was 15.68 individuals per fish. Histopathological changes at the fish gills caused by protozoan and monogenean parasites were hyperplasia, degeneration, edema and necrosis. While the histopathological changes in liver, kidney and spleen tissues infected with bacteria were hyperplasia, degeneration, edema, necrosis, hemorrhage and melanomacrophage. Relationship between parasites in fish and water quality was analyzed using Pearson correlation. The results were that in the first area, mean intensity of Thaparocleidus sp. was directly related to water temperature with statistically significance (p<0.05). Moreover, the mean intensity of Thaparocleidus pahangensis and Cornudiscoides malayensis was directly related to ammonia concentration. In addition, Thaparocleidus sp. was directly related to nitrite and water transparency. However, this parasite was reversely related to pH and alkalinity with statistically significance (p<0.05). In the second area, the mean intensity of all parasites was not related with temperature, but the mean intensity of Trichodina pediculus and T. jadranica was directly related to pH and DO. Moreover, the mean intensity of T. pediculus was directly related to ammonia in water with highly statistically significance (p<0.01). In the third area, the mean intensity of all parasites was not related to DO, alkalinity, ammonia and nitrite in water. However, water temperature was reversely related to mean intensity of Bifurcohaptor baungi and Cornudiscoides malayensis with statistically significance. pH was reversely related to the mean intensity of Bifurcohaptor baungi and Thaparocleidus sp. Furthermore, the mean intensity was directly related to transparency of water resource in cage with statistically significance (p<0.05). Relationship of parasites in fish and bacterial infection was analyzed using T-test. The result was that the mean intensity of Trichodina pediculus and Bifurcohaptor baungi was directly related to bacterial infection with statistically significance (p<0.05). On relationship of bacterial infection in fish and water quality, the result was that ammonia concentration in water was directly related to the bacterial infection with statistically significance (p<0.05). On relationship of parasite infestation at the fish gills and histopathological changes, the result was that the parasite infestation at the gills was directly related to histopathological changes at the gills with highly statistically significance (p<0.01). While the green catfish infected with bacteria in kidney and spleen was directly related to histopathological changes with highly statistically significance (p<0.01). 2019-03-21T02:20:11Z 2019-03-21T02:20:11Z 2561 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12156 th application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี |