อิทธิพลที่มีต่อการเลือกประกอบอาชีพเป็นติวเตอร์ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย

สารนิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พนิตา พรหมรัตน์
Other Authors: ดรณีกร สุปันตี
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2019
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12402
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-12402
record_format dspace
spelling th-psu.2016-124022019-11-24T20:08:42Z อิทธิพลที่มีต่อการเลือกประกอบอาชีพเป็นติวเตอร์ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย The influences on occupational choices of tutoring in generation Y พนิตา พรหมรัตน์ ดรณีกร สุปันตี Faculty of Management Sciences (Business Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ สถานประกอบการ การสอนเสริม เจนเนอเรชั่นวาย สารนิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559 การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลที่มีต่อการเลือกประกอบอาชีพ เป็นติวเตอร์ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เป็นเครื่องมือในการวิจัย เก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลจำนวน 10 คน ซึ่งอยู่ในช่วงกลุ่มอายุ 21-36 ปี โดยแบ่งกลุ่มประชากรเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกคือบุคคลที่เป็นติวเตอร์อิสระ หรือฟรีแลนซ์สอนตาม สถาบันกวดวิชาต่างๆจำนวน 5 คน และกลุ่มที่สองคือบุคคลที่สอนและเป็นผู้ประกอบการสถาบัน กวดวิชาจานวน 5 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) ดำเนินการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา (Content Analysis) ผลการศึกษาพบว่า อิทธิพลที่มีต่อการประกอบอาชีพอิสระเป็นติวเตอร์ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวายอย่างมาก ในอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา นั้นมี 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยด้านลักษณะงาน ปัจจัยด้านบุคคลและปัจจัยด้านผลตอบแทน ปัจจัยด้านลักษณะงาน ประกอบไปด้วย ความอิสระ การตอบสนองความต้องการในการประกอบอาชีพ การมีความรู้เดิมเป็นพื้นฐาน ความก้าวหน้า ความสมดุลในชีวิตและงาน ปัจจัยย่อยทั้ง 5 ด้านนี้เป็นปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการเลือกประกอบ อาชีพ ปัจจัยด้านบุคคลเป็นปัจจัยภายใน ประกอบไปด้วย การเลี้ยงดู ความเชื่อมั่นในตนเอง การให้ ความสำคัญกับเวลา การมีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี และความกล้าเสี่ยง ปัจจัยที่ด้านผลตอบแทน คือ รายได้ เป็นผลตอบแทนที่เป็นตัวเงิน ส่วนความสำเร็จหรือความต้องการสัมฤทธ์ิผลเป็นผลตอบแทนที่ ไม่ใช่ตัวเงิน ดังนั้นข้อมูลที่ได้รับจากการวิจัยสามารถนา ไปใช้ในการพัฒนาลักษณะงานให้มีความ สอดคล้องกับกลุ่มคนเจนเนอเรชั่นวายได้ เพื่อเป็นการจูงใจให้ทำงานในองค์กร 2019-11-22T08:01:40Z 2019-11-22T08:01:40Z 2559 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12402 th application/pdf application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic สถานประกอบการ
การสอนเสริม
เจนเนอเรชั่นวาย
spellingShingle สถานประกอบการ
การสอนเสริม
เจนเนอเรชั่นวาย
พนิตา พรหมรัตน์
อิทธิพลที่มีต่อการเลือกประกอบอาชีพเป็นติวเตอร์ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย
description สารนิพนธ์ (บธ.ม. (บริหารธุรกิจ))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2559
author2 ดรณีกร สุปันตี
author_facet ดรณีกร สุปันตี
พนิตา พรหมรัตน์
format Theses and Dissertations
author พนิตา พรหมรัตน์
author_sort พนิตา พรหมรัตน์
title อิทธิพลที่มีต่อการเลือกประกอบอาชีพเป็นติวเตอร์ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย
title_short อิทธิพลที่มีต่อการเลือกประกอบอาชีพเป็นติวเตอร์ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย
title_full อิทธิพลที่มีต่อการเลือกประกอบอาชีพเป็นติวเตอร์ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย
title_fullStr อิทธิพลที่มีต่อการเลือกประกอบอาชีพเป็นติวเตอร์ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย
title_full_unstemmed อิทธิพลที่มีต่อการเลือกประกอบอาชีพเป็นติวเตอร์ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย
title_sort อิทธิพลที่มีต่อการเลือกประกอบอาชีพเป็นติวเตอร์ในกลุ่มเจนเนอเรชั่นวาย
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2019
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12402
_version_ 1681754140326232064