ผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความสามารถในการจัดการอาการและอาการหายใจลำบากของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง

วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: นุชรัตน์ จันทโร
Other Authors: เนตรนภา คู่พันธวี
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2019
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12476
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-12476
record_format dspace
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic ปอดอุดกั้น
ปอด โรค
spellingShingle ปอดอุดกั้น
ปอด โรค
นุชรัตน์ จันทโร
ผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความสามารถในการจัดการอาการและอาการหายใจลำบากของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
description วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561
author2 เนตรนภา คู่พันธวี
author_facet เนตรนภา คู่พันธวี
นุชรัตน์ จันทโร
format Theses and Dissertations
author นุชรัตน์ จันทโร
author_sort นุชรัตน์ จันทโร
title ผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความสามารถในการจัดการอาการและอาการหายใจลำบากของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_short ผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความสามารถในการจัดการอาการและอาการหายใจลำบากของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_full ผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความสามารถในการจัดการอาการและอาการหายใจลำบากของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_fullStr ผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความสามารถในการจัดการอาการและอาการหายใจลำบากของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_full_unstemmed ผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความสามารถในการจัดการอาการและอาการหายใจลำบากของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
title_sort ผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความสามารถในการจัดการอาการและอาการหายใจลำบากของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2019
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12476
_version_ 1783957333415559168
spelling th-psu.2016-124762023-11-16T06:21:40Z ผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองต่อความสามารถในการจัดการอาการและอาการหายใจลำบากของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง Effect of self-management support program on ability to manage symptoms and dyspnea among patients with chronic obstructive pulmonary disease นุชรัตน์ จันทโร เนตรนภา คู่พันธวี Faculty of Nursing (Medical Nursing) คณะพยาบาลศาสตร์ ภาควิชาการพยาบาลอายุรศาสตร์ ปอดอุดกั้น ปอด โรค วิทยานิพนธ์ (พย.ม. (การพยาบาลผู้ใหญ่))--มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 2561 This quasi-experimental study aimed to evaluate the effect of a self-management support program on ability to manage symptoms and dyspnea among patients with chronic obstructive pulmonary disease. Fifty two subjects were purposively selected and assigned to either the experimental group (n=26) or the control group (n=26). The subjects were match on (1) sex, (2) age (± 5 years), and (3) level of disease (grade 1 and 2). The control group received usual nursing care while the experimental group received the self-management support program according to 5 A's techniques by Glasgow et al. (2006). The 5 A's techniques composed 5 steps: 1) assessing 2) advising 3) agreeing 4) assisting and 5) arranging. Data were collected from both groups at the first week and eighth week. The instrument for data collection was a self-management ability to manage dyspnea questionnaire and its reliability was examined using Cronbach's alpha coefficient (alpha= .79), and the instrument for measurement of Dyspnea was the Modified Medical Research Council Dyspnea Score: mMRC DS. The data were analyzed using descriptive statistics and the hypotheses were tested using Paired t-test and Independent t-test. The results revealed that after using the self-management support program, the experimental group had a significantly higher mean score of self- management ability to manage symptoms than that before (p<.001), and the self- management ability to manage symptoms in the experimental group was higher than that of the control group significantly (p<.001). The frequency of dyspnea severity after using the self-management support program was not significantly lower than that before (p>.05), and the frequency of dyspnea severity in the experimental group was lower than that of the control group significantly (p<.05). This finding indicated that the intervention program could increase ability to manage symptom and decrease dyspnea. Therefore, the Self-Management Support Program should be incorporated into nursing training to develop skills to support self-management in chronic obstructive pulmonary disease. The further study should focus on sustainability of program implementation. การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมสนับสนุนการจัดการ ตนเองต่อความสามารถในการจัดการอาการและอาการหายใจลําบากของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง จํานวน 52 ราย คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กําหนด แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมและกลุ่ม ทดลอง กลุ่มละ 26 ราย โดยจับคู่ตามคุณสมบัติดังนี้ (1) เพศ (2) อายุต่างกันไม่เกิน 5 ปี และ (3) ระดับความรุนแรงของโรคอยู่ในระดับที่ 1 และ 2 กลุ่มควบคุมได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่ม ทดลองได้รับโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเอง ด้วยเทคนิค 5 เอ ของกลาสโกวและคณะ (2006) ประกอบด้วย 5 ขั้นตอนดังนี้ การประเมิน (assess) การแนะนําให้คําปรึกษา (advise) การยอมรับ (agree) การช่วยเหลือสนับสนุน (assist) และการติดตามประเมินผล (arrange) ประเมินผลก่อน ทดลองในสัปดาห์ที่ 1 และหลังทดลองในสัปดาห์ที่ 8 ใช้แบบสอบถามความสามารถในการจัดการ อาการหายใจลําบาก ซึ่งทดสอบความเที่ยงได้ค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ 79 และ แบบวัดอาการหายใจลําบาก โดยใช้เกณฑ์การให้คะแนนหายใจลําาบาก (Modified Medical Research Council Dyspnea Score: mMRC DS) วิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปใช้สถิติบรรยาย การ ทดสอบสมมติฐานใช้สถิติทีคู่ (Paired t-test) และสถิติที่อิสระ (Independent t-test) ผลการวิจัย พบว่า หลังได้รับโปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเอง คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการจัดการอาการหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<.001) คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการจัดการอาการของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมี นัยสําคัญทางสถิติ (p<.001) สําาหรับอาการหายใจลําบากของกลุ่มทดลองหลังทดลองไม่แตกต่างจาก ก่อนทดลองอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p>.05) ส่วนจํานวนกลุ่มตัวอย่างในกลุ่มทดลองที่มีอาการ หายใจลําบากที่รุนแรงมีจํานวนน้อยกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ (p<.05) การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมสนับสนุนการจัดการตนเองสามารถเพิ่ม ความสามารถในการจัดการอาการหายใจลําบากและสามารถลดอาการหายใจลําบากได้ ดังนั้น จึงควร มีการเตรียมความพร้อมของหน่วยงาน การเตรียมบุคลากรพยาบาล ควรมีการอบรมหรือพัฒนาทักษะ ในการสนับสนุนการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ในการวิจัยครั้งต่อไปควรศึกษาใน ระยะยาวเพื่อยืนยันถึงความยั่งยืนของผลลัพธ์ที่เกิดจากการใช้โปรแกรมนี้ 2019-12-17T03:20:18Z 2019-12-17T03:20:18Z 2018 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/12476 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์