การวางแผนสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพยาบาลของหัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลชุมชนเขตบริการสุขภาพที่ 11
สารนิพนธ์, พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทางการพยาบาล, 2563
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Other Authors: | |
Format: | Theses and Dissertations |
Language: | Thai |
Published: |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
2020
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13089 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | Thai |
id |
th-psu.2016-13089 |
---|---|
record_format |
dspace |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
Thai |
topic |
การวางแผนสืบทอดตำแหน่ง ผู้บังคับบัญชา หัวหน้าพยาบาล |
spellingShingle |
การวางแผนสืบทอดตำแหน่ง ผู้บังคับบัญชา หัวหน้าพยาบาล ตราวดี อินทรักษ์ การวางแผนสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพยาบาลของหัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลชุมชนเขตบริการสุขภาพที่ 11 |
description |
สารนิพนธ์, พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทางการพยาบาล, 2563 |
author2 |
ปราโมทย์ ทองสุข |
author_facet |
ปราโมทย์ ทองสุข ตราวดี อินทรักษ์ |
format |
Theses and Dissertations |
author |
ตราวดี อินทรักษ์ |
author_sort |
ตราวดี อินทรักษ์ |
title |
การวางแผนสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพยาบาลของหัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลชุมชนเขตบริการสุขภาพที่ 11 |
title_short |
การวางแผนสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพยาบาลของหัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลชุมชนเขตบริการสุขภาพที่ 11 |
title_full |
การวางแผนสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพยาบาลของหัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลชุมชนเขตบริการสุขภาพที่ 11 |
title_fullStr |
การวางแผนสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพยาบาลของหัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลชุมชนเขตบริการสุขภาพที่ 11 |
title_full_unstemmed |
การวางแผนสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพยาบาลของหัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลชุมชนเขตบริการสุขภาพที่ 11 |
title_sort |
การวางแผนสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพยาบาลของหัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลชุมชนเขตบริการสุขภาพที่ 11 |
publisher |
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
publishDate |
2020 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13089 |
_version_ |
1767194625622147072 |
spelling |
th-psu.2016-130892023-05-16T04:20:58Z การวางแผนสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพยาบาลของหัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลชุมชนเขตบริการสุขภาพที่ 11 Nurse Director’s Position Succession Planning by Nurse Directors in Community Hospitals, Health Region 11 ตราวดี อินทรักษ์ ปราโมทย์ ทองสุข การวางแผนสืบทอดตำแหน่ง ผู้บังคับบัญชา หัวหน้าพยาบาล สารนิพนธ์, พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารทางการพยาบาล, 2563 This descriptive research aimed to study the steps, key success factors, problems and obstacles of position succession planning in order to become a nurse director in community hospital, health Region 11. The sample of the study was 30 nurse directors who had not more than five years before retired using purposive sampling. Data collection was conducted through semi-structural interview questionnaire developed from concept of succession planning by Nursing Division (2017). The content validity of the instrument was assessed by 3 experts giving a Index of Item – Objective Congruence (IOC) of 1. The reliability of interview questionnaire was used with 2 non-sample head nurses by the researcher. The quantitative data were analyzed by descriptive statistics, frequency, percentage, mean, and standard deviation. Qualitative data were analyzed by content analysis. This study nurse directors in community hospitals engaged in found that succession planning to be a nurse director in four steps. First, the nurse director’s qualifications was clearly written and officially announced (93.3%). Second, the recruitment for qualified persons was done by the nursing management committee (76.7%). Third, personal identification with career paths was planned in the promoting system (66.7%). Last, structured leadership programs was placed to develop 9 competencies as recommended by the Nursing Division (96.7%). The method of position succession planning in order to become a nurse director was meeting and training (93.3%), coaching and mentoring from current leaders of nursing department (83.3%), and studying in higher education (73.3%). It was found that the most important key success factor was having structured leadership programs in place with clear qualifications (60.0%). The problems and obstacles affecting position succession plan in order to become a nurse director was lack of motivation (53.3%). Nursing administrators can use the results of this study as information to prepare personnel for higher positions and further benefits in profession advancement. การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาขั้นตอน ปัจจัยความสำเร็จ และปัญหาอุปสรรคของการวางแผนสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพยาบาลของหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลชุมชน เขตบริการสุขภาพที่ 11 เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง หัวหน้าพยาบาลที่จะเกษียณอายุราชการไม่เกิน 5 ปี จำนวน 30 คน เก็บรวบรวมข้อมูล โดยใช้แบบสัมภาษณ์ข้อมูลทั่วไป และแบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างที่สร้างขึ้นตามแนวทางวางแผนสืบทอดตำแหน่งของกองการพยาบาล (2560) แบบสัมภาษณ์ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน ได้ค่า IOC เท่ากับ 1 และหาความเที่ยงโดยผู้วิจัยฝึกสัมภาษณ์และบันทึกข้อมูลกับหัวหน้าพยาบาลที่ไม่ใช่กลุ่มตัวอย่าง 2 ราย ก่อนดำเนินการเก็บข้อมูลด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย ด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ส่วนข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า หัวหน้าพยาบาล โรงพยาบาลชุมชน มีการดำเนินการการวางแผนสืบทอดตำแหน่งหัวหน้าพยาบาล มี 4 ขั้นตอน ดังนี้ (1) การกำหนดคุณสมบัติเป็นลายลักษณ์อักษรชัดเจนและการสื่อสารให้รับทราบโดยทั่วกัน (ร้อยละ 93.33) (2) มีการประเมินผู้มีคุณสมบัติเข้าสู่ตำแหน่ง โดยคณะกรรมการบริหารกลุ่มการพยาบาล (ร้อยละ 76.67) (3) มีการกำหนดตัวบุคคลไว้ในระบบความก้าวหน้า (ร้อยละ 66.67) และ (4) การพัฒนาตวามสามารถบุคคลในระบบความก้าวหน้าก่อนเข้าสู่ตำแหน่งมี 9 สมรรถนะ ตามที่กองการพยาบาลกำหนดไว้ (ร้อยละ 96.67) วิธีการพัฒนาที่ใช้คือ การประชุม อบรม (ร้อยละ 93.33) การสอนงานการบริหาร (ร้อยละ 83.33) และการศึกษาต่อ (ร้อยละ73.33) สำหรับปัจจัยความความสำเร็จของการวางแผนสืบทอดตำแหน่ง คือการกำหนดแนวทางและคุณสมบัติที่ชัดเจน (ร้อยละ 60.00) และปัญหาอุปสรรคที่ส่งผลต่อการวางแผนสืบทอดตำแหน่งมากที่สุดคือ การขาดแรงจูงใจในการเข้าสู่ตำแหน่ง (ร้อยละ 53.33) ทั้งนี้ผู้บริหารทางการพยาบาลสามารถใช้ผลการศึกษาครั้งนี้เป็นข้อมูลในการเตรียมบุคคลในการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้น ในหน่วยงานเพื่อวางแผนในการเข้าสู่ตำแหน่งที่สูงขึ้นเพื่อประโยชน์และความก้าวหน้าในวิชาชีพต่อไป 2020-09-21T04:03:25Z 2020-09-21T04:03:25Z 2563 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13089 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |