ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร OTOP ของผู้บริโภคในจังหวัดตรัง

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: พรทิพย์ ทองอ่อน
Other Authors: วรพจน์ ปานรอด
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2020
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13172
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-13172
record_format dspace
spelling th-psu.2016-131722020-10-15T04:25:14Z ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร OTOP ของผู้บริโภคในจังหวัดตรัง The Relationship between Attitudes towards Tangible Product to Purchase Intention Herbal Cosmetics Products, in Trang Province พรทิพย์ ทองอ่อน วรพจน์ ปานรอด Faculty of Management Sciences (Business Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ รูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ เครื่องสำอางสมุนไพร ความตั้งใจซื้อ พฤติกรรมผู้บริโภค บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559 การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์และความสัมพันธ์ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางสมุนไพรจากโครงการหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ผู้บริโภคที่คาดว่าจะซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางสมุนไพร OTOP จานวน 385 คน ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ด้วยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวนด้วย ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสหสัมพันธ์ ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามโดยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 20 – 29 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี สถานภาพโสด และเป็นผู้ที่มีรายได้เฉลี่ยตั้งแต่15,001 – 20,000 บาทต่อเดือน ทัศนคติของผู้บริโภคที่มีต่อรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์มีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับที่เห็นด้วย ระดับความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางสมุนไพร OTOP อยู่ในระดับความคิดเห็นที่เห็นด้วยคิดเป็นค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.94 อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.05 และความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสาอางสมุนไพร OTOP มีความสัมพันธ์เชิงบวก (r= 0.67) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่าปัจจัยด้านบรรจุภัณฑ์หรือหีบห่อมีผลต่อความตั้งใจซื้อมากที่สุด (r= 0.69) อย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ 0.01 และค่าความเชื่อมั่นที่ 99% 2020-10-15T04:24:08Z 2020-10-15T04:24:08Z 2559 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13172 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic รูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์
เครื่องสำอางสมุนไพร
ความตั้งใจซื้อ
พฤติกรรมผู้บริโภค
spellingShingle รูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์
เครื่องสำอางสมุนไพร
ความตั้งใจซื้อ
พฤติกรรมผู้บริโภค
พรทิพย์ ทองอ่อน
ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร OTOP ของผู้บริโภคในจังหวัดตรัง
description บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559
author2 วรพจน์ ปานรอด
author_facet วรพจน์ ปานรอด
พรทิพย์ ทองอ่อน
format Theses and Dissertations
author พรทิพย์ ทองอ่อน
author_sort พรทิพย์ ทองอ่อน
title ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร OTOP ของผู้บริโภคในจังหวัดตรัง
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร OTOP ของผู้บริโภคในจังหวัดตรัง
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร OTOP ของผู้บริโภคในจังหวัดตรัง
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร OTOP ของผู้บริโภคในจังหวัดตรัง
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร OTOP ของผู้บริโภคในจังหวัดตรัง
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติรูปลักษณ์ผลิตภัณฑ์ ต่อความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางสมุนไพร otop ของผู้บริโภคในจังหวัดตรัง
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2020
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13172
_version_ 1695734298547585024