ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ส่วนผสมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ทัศนคติต่อประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์ของผู้บริโภค ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: อรพณา อังคสุวรรณ
Other Authors: สุนันทา เหมทานนท์
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2020
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13183
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-13183
record_format dspace
spelling th-psu.2016-131832020-10-20T03:43:34Z ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ส่วนผสมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ทัศนคติต่อประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์ของผู้บริโภค ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา Relationships between Consumers’ Ingredient Healthiness Perception, Attitude toward Country-of-Origin and Purchase Intention of Functional Food Products in Hatyai District, Songkhla Province อรพณา อังคสุวรรณ สุนันทา เหมทานนท์ Faculty of Management Sciences (Business Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ การรับรู้ ประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า ความตั้งใจซื้อ ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์ ทัศนคติ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559 การวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ส่วนผสมที่เป็น ประโยชน์ต่อสุขภาพ ทัศนคติต่อประเทศแหล่งกาเนิดสินค้า และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์ของผู้บริโภคจาก 3 ประเทศ ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญี่ปุ่น และประเทศไทย กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ ผู้บริโภคที่มีศักยภาพในการซื้อผลิตภัณฑ์ จานวน 385 คน ซึ่งผ่านการพิจารณาแล้วว่าเป็นผู้ที่มีความตระหนักเรื่องสุขภาพ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลและสอบถามผู้บริโภค ในเขตอาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา วิเคราะห์ผลทางสถิติโดยใช้สถิติประกอบไปด้วย ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบ t-test, F-test หาความแตกต่างรายคู่ด้วยวิธี Scheffe’ และหาความสัมพันธ์ด้วย Pearson Correlation ผลการศึกษา พบว่า ระดับการรับรู้เกี่ยวกับส่วนผสมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพจาก 3 ประเทศแหล่งกาเนิดสินค้า (สหรัฐอเมริกา, ญี่ปุ่น และไทย) ของผู้บริโภค โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตาม ผลการศึกษา พบว่า ผู้บริโภคมีการรับรู้ส่วนผสมจากประเทศญี่ปุ่น อยู่ในระดับมากที่สุด โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเรื่องใช้วัตถุดิบสดใหม่และเป็นอาหารเกษตรอินทรีย์ สาหรับทัศนคติต่อประเทศแหล่งกาเนิดสินค้าของผู้บริโภค พบว่า ผู้บริโภคมีความรู้สึกเชิงบวกต่อผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์จากประเทศญี่ปุ่นมากที่สุด โดยมองว่าเป็นผลิตภัณฑ์ที่ดี นอกจากนั้น ยังพบว่า ผู้บริโภคมีความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์จาก 3 ประเทศแหล่งกาเนิดสินค้า อยู่ในระดับมาก ซึ่งน่าประหลาดใจที่ผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์จากประเทศไทยได้รับความสนใจจากลูกค้ามากที่สุด และมีความเป็นไปได้ที่ลูกค้าจะซื้อผลิตภัณฑ์มากที่สุด ยิ่งไปกว่านั้น ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ส่วนผสมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพและความตั้งใจซื้อมีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสาคัญและมีความสัมพันธ์ในเชิงบวก อยู่ในระดับปานกลาง และยังพบว่า ทัศนคติของลูกค้าต่อประเทศแหล่งกาเนิดสินค้ามีความสัมพันธ์กับความตั้งใจซื้ออย่างมีนัยสาคัญ ซึ่งประเทศญี่ปุ่น มีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์มากที่สุด (4) ผลการวิจัยสาหรับการศึกษาในครั้งนี้ ได้เสนอแนะให้ผู้ประกอบการผลิตและผู้จัดจาหน่ายผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์สร้างทัศนคติที่ดีให้แก่ผลิตภัณฑ์ประเทศไทยมากขึ้น เช่น มีการวางแผนคัดเลือกผลิตภัณฑ์ที่ผู้บริโภคชาวไทยชื่นชอบ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนผสมจากประเทศญี่ปุ่น นอกจากนี้ ยังได้เสนอแนะให้ผู้ประกอบการผลิตในกลุ่มฟังก์ชันนัลฟู้ดส์มีการ บูรณาการกลยุทธ์ทางการตลาดที่หลากหลาย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การพัฒนาผลิตภัณฑ์และมีการเลือกใช้การสื่อสารที่เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย นอกจากนี้ ยังมีการเสนอแนวทางต่างๆ เพื่อช่วยเพิ่มและสร้างทัศนคติเชิงบวกต่อผลิตภัณฑ์มากยิ่งขึ้น สิ่งสาคัญท้ายที่สุดนี้ ผู้ประกอบการผลิตในกลุ่มฟังก์ชันนัลฟู้ดส์ต้องให้ความสาคัญกับความต้องการลูกค้าอย่างสม่าเสมอ โดยใช้กลยุทธ์การบริการเพื่อให้เกิดความจงรักภักดีโดยตรงต่อผลิตภัณฑ์ ตลอดจนเกิดความจงรักภักดีโดยทางอ้อมต่อบริษัท 2020-10-20T03:42:35Z 2020-10-20T03:42:35Z 2559 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13183 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การรับรู้
ประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า
ความตั้งใจซื้อ
ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์
ทัศนคติ
spellingShingle การรับรู้
ประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า
ความตั้งใจซื้อ
ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์
ทัศนคติ
อรพณา อังคสุวรรณ
ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ส่วนผสมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ทัศนคติต่อประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์ของผู้บริโภค ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
description บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559
author2 สุนันทา เหมทานนท์
author_facet สุนันทา เหมทานนท์
อรพณา อังคสุวรรณ
format Theses and Dissertations
author อรพณา อังคสุวรรณ
author_sort อรพณา อังคสุวรรณ
title ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ส่วนผสมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ทัศนคติต่อประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์ของผู้บริโภค ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
title_short ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ส่วนผสมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ทัศนคติต่อประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์ของผู้บริโภค ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
title_full ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ส่วนผสมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ทัศนคติต่อประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์ของผู้บริโภค ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
title_fullStr ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ส่วนผสมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ทัศนคติต่อประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์ของผู้บริโภค ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
title_full_unstemmed ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ส่วนผสมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ทัศนคติต่อประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์ของผู้บริโภค ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
title_sort ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ส่วนผสมที่เป็นประโยชน์ต่อสุขภาพ ทัศนคติต่อประเทศแหล่งกำเนิดสินค้า และความตั้งใจซื้อผลิตภัณฑ์ฟังก์ชันนัลฟู้ดส์ของผู้บริโภค ในเขตอำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2020
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13183
_version_ 1695734299407417344