การมีส่วนร่วมและความต้องการของประชาชนต่อการจัดการสาธารณภัย กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา

รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2562

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ถาวร ทองประทีป
Other Authors: สมพร คุณวิชิต
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2020
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13191
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-13191
record_format dspace
spelling th-psu.2016-131912020-10-21T04:10:22Z การมีส่วนร่วมและความต้องการของประชาชนต่อการจัดการสาธารณภัย กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา Public Participation and Needs for Disaster Management Services: A Case Study of Chanong Subdistrict Administrative Organization, Chana District, Songkhla Province ถาวร ทองประทีป สมพร คุณวิชิต Faculty of Management Sciences (Public Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ การจัดการสาธารณภัย การมีส่วนร่วม องค์การบริหารส่วนตำบล การบริหาร การปกครองส่วนท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของประชาชน รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2562 งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสนใจของประชาชนในการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสาธารณภัย 2) ศึกษาความต้องการของประชาชนในการรับบริการสาธารณะด้านสาธารณภัย และ 3) เปรียบเทียบระดับความสนใจในการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสาธารณภัยและระดับความต้องการของประชาชนในการ รับบริการสาธารณะด้านสาธารณภัยจากองค์การบริหารส่วนตำบลจะโหนง กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนในพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา จำนวน 380 คน สถิติที่ใช้ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยโดยใช้ค่าที (t-Test) และการวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) (F-Test) ผลการวิจัย พบว่า ระดับความสนใจต่อการเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสาธารณภัยในภาพรวม อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากทุกด้านทั้งด้านระยะหลังเกิดภัย (การฟื้นฟู) ด้านระยะระหว่างเกิดภัย และด้านระยะก่อนเกิดภัย ตามลำดับ สำหรับความต้องการในการรับบริการสาธารณะด้านสาธารณภัย พบว่า ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า อยู่ในระดับมากที่สุด 2 ด้าน คือ ด้านการฟื้นฟูกับด้านการเผชิญเหตุการณ์ฉุกเฉิน ส่วนด้านเตรียมพร้อมกับด้านการลดผลกระทบนั้นอยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่า ประชาชนที่มี เพศ อายุ อาชีพ และศาสนาต่างกัน มีระดับความสนใจต่อการ เข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการสาธารณภัยในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 และประชาชนที่มีเพศ อายุ ศาสนา และตำแหน่งทางสังคมต่างกัน มีระดับความต้องการในการรับบริการสาธารณะด้านสาธารณภัยในภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05  คำสำคัญ : การจัดการสาธารณภัย, การมีส่วนร่วม 2020-10-21T04:09:31Z 2020-10-21T04:09:31Z 2562 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13191 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic การจัดการสาธารณภัย
การมีส่วนร่วม
องค์การบริหารส่วนตำบล การบริหาร
การปกครองส่วนท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของประชาชน
spellingShingle การจัดการสาธารณภัย
การมีส่วนร่วม
องค์การบริหารส่วนตำบล การบริหาร
การปกครองส่วนท้องถิ่น การมีส่วนร่วมของประชาชน
ถาวร ทองประทีป
การมีส่วนร่วมและความต้องการของประชาชนต่อการจัดการสาธารณภัย กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
description รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, 2562
author2 สมพร คุณวิชิต
author_facet สมพร คุณวิชิต
ถาวร ทองประทีป
format Theses and Dissertations
author ถาวร ทองประทีป
author_sort ถาวร ทองประทีป
title การมีส่วนร่วมและความต้องการของประชาชนต่อการจัดการสาธารณภัย กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
title_short การมีส่วนร่วมและความต้องการของประชาชนต่อการจัดการสาธารณภัย กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
title_full การมีส่วนร่วมและความต้องการของประชาชนต่อการจัดการสาธารณภัย กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
title_fullStr การมีส่วนร่วมและความต้องการของประชาชนต่อการจัดการสาธารณภัย กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
title_full_unstemmed การมีส่วนร่วมและความต้องการของประชาชนต่อการจัดการสาธารณภัย กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
title_sort การมีส่วนร่วมและความต้องการของประชาชนต่อการจัดการสาธารณภัย กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนตำบลจะโหนง อำเภอจะนะ จังหวัดสงขลา
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2020
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13191
_version_ 1695734300259909632