ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกขายน้ำยางสดให้แก่สหกรณ์: กรณีศึกษา สหกรณ์กองทุนสวนยางใน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ศศิประภา อัคคอิชยา
Other Authors: ทิพวรรณ จันทมณีโชติ
Format: Theses and Dissertations
Language:Thai
Published: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 2020
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13192
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: Thai
id th-psu.2016-13192
record_format dspace
spelling th-psu.2016-131922020-10-21T04:21:19Z ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกขายน้ำยางสดให้แก่สหกรณ์: กรณีศึกษา สหกรณ์กองทุนสวนยางใน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา Factors influencing on selling fresh latex towards the cooperative: case study of Para rubber cooperative in Sadao district, Songkhla province ศศิประภา อัคคอิชยา ทิพวรรณ จันทมณีโชติ Faculty of Management Sciences (Business Administration) คณะวิทยาการจัดการ ภาควิชาบริหารธุรกิจ น้ำยาง การตลาด ชาวสวนยาง สะเดา(สงขลา) เกษตรกร บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559 การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาลักษณะส่วนบุคคลของเกษตรกรชาวสวนยางพารา ที่ เป็นสมาชิกของสหกรณ์กองทุนสวนยาง 2) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกขายน้า ยางสดให้แก่สหกรณ์ กองทุนสวนยาง อา เภอสะเดา จังหวัดสงขลา 3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการขายน้า ยางสดของ เกษตรกรชาวสวนยางให้แก่สหกรณ์กองทุนสวนยาง โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก เกษตรกรที่เป็นสมาชิกของสหกรณ์กองทุนสวนยางในอา เภอสะเดา จังหวัดสงขลา อย่างน้อย 1 ปี จา นวน 87 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ สถิติอย่างง่าย ทดสอบหาความสัมพันธ์ด้วยวิธีไคสแควร์ และการ วิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก (Logistic Regression Analysis) ผลการวิจัยพบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่เป็ นเพศชาย มีอายุอยู่ในช่วง 41-60 ปี ซึ่งมีลักษณะพื้นที่ถือครองในการ เพาะปลูกเป็นของตนเอง ในการวิเคราะห์ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ด้านสาคัญ คือ ด้านเศรษฐกิจและสังคม และนโยบายของรัฐ พบว่าปัจจัยทั้ง 2 ด้าน มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกขายน้า ยางสดให้แก่สหกรณ์กองทุนสวนยางของเกษตรกรอยู่ในระดับมาก โดยสิ่งที่เกษตรกรให้ความสาคัญ คือ เรื่องของการที่เกษตรกรได้รับความร่วมมือจากภาคเอกชน เกี่ยวกับการซื้อ-ขายยางพาราผ่านสหกรณ์ การ ส่งเสริมให้เกิดความเข้าใจในการบริหารจัดการกับผลผลิต (น้า ยางพารา) และการเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้อย่าง เหมาะสมและเพียงพอต่อความต้องการ ส่วนปัจจัยภายในที่เกี่ยวข้องทางการตลาด ประกอบด้วยปัจจัย 4 ด้าน คือ ด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจา หน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาด พบว่า ทุกด้าน มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจอยู่ในระดับมาก มีรายละเอียดของแต่ละด้านดังนี้ ด้านผลิตภัณฑ์ ให้ความสาคัญ กับความน่าเชื่อถือของสหกรณ์ ด้านราคา ให้ความสาคัญกับ การมีส่วนเหลื่อมตลาดด้านราคาที่มากกว่า ระหว่างสหกรณ์กับร้านรับซื้อทั่วไป ด้านช่องทางการจัดจา หน่าย ให้ความสาคัญกับเรื่องสถานที่ตั้งของ สหกรณ์ที่สามารถมองเห็นได้ง่าย เป็นที่รู้จักของเกษตรกร สามารถต่อติดซื้อ – ขายน้า ยางได้อย่างสะดวก และด้านการส่งเสริมการตลาด ให้ความสาคัญกับ การประชาสัมพันธ์ข่าวสารเกี่ยวกับยางพาราแก่เกษตรกร ได้อย่างทั่วถึงและรวดเร็ว เมื่อนา ข้อมูลมาวิเคราะห์เพื่อหาความสัมพันธ์ด้วยวิธีไคสแควร์ พบว่า อายุ มีความสัมพันธ์กับการที่ เกษตรกรขายน้า ยางสดให้แก่สหกรณ์ที่เป็นสมาชิกเป็นประจา ทุกวันที่ทา การกรีด (ด้านระยะเวลาและการ จัดส่ง) และลักษณะพื้นที่ถือครองในการเพาะปลูกของเกษตรกร มีความสัมพันธ์กับการที่เกษตรกรได้รับเงิน สดค่าน้ายางทุกวันที่ทา การกรีดและมีการขายน้า ยางสดให้สหกรณ์ (ด้านการจ่ายชาระ) นอกจากนี้การ วิเคราะห์ถดถอยโลจิสติก (Logistic Regression Analysis) พบว่า ปัจจัยภายในที่เกี่ยวข้องทางการตลาด ทั้ง 4ด้าน มีความสัมพันธ์กับการที่เกษตรกรส่งขายน้า ยางสดในปริมาณทั้งหมด (100%) ที่กรีดได้ให้แก่สหกรณ์ที่ เป็นสมาชิก (ด้านปริมาณการซื้อ) นั่นคือ หากระดับอิทธิพลของเกษตรกรที่เกี่ยวกับปัจจัยภายในที่เกี่ยวข้อง ทางการตลาดเพิ่มขึ้น 1 ระดับ โอกาสที่เกษตรกรจะตัดสินใจเลือกส่งขายน้า ยางสดในปริมาณทั้งหมด (100%) ที่กรีดได้ให้แก่สหกรณ์ที่เป็นสมาชิก (ด้านปริมาณการซื้อ) ลดลงร้อยละ 93.1 ปัญหาและอุปสรรคในการขายน้า ยางสดของเกษตรกรชาวสวนยางให้แก่สหกรณ์กองทุนสวนยาง แยกออกเป็น 4 ด้าน พบว่า 1) ปัญหาด้านเจ้าหน้าที่ของสหกรณ์ คือ ปัญหาเรื่องการให้บริการของเจ้าหน้าที่ สหกรณ์ 2) ปัญหาด้านการเงิน คือ ปัญหาเงินทุนสวัสดิการส่วนกลางสาหรับเกษตรกร 3) ปัญหาด้าน ขั้นตอนการเข้ารับบริการ คือ ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการในการตีเปอร์เซ็นต์ยาง และ 4) ปัญหาด้านการให้ ความช่วยเหลือ คือ ปัญหาการจัดสรรสวัสดิการจากสหกรณ์ตามข้อตกลงที่วางไว้ เมื่อเกษตรกรมีความ ต้องการ 2020-10-21T04:20:17Z 2020-10-21T04:20:17Z 2559 Thesis http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13192 th Attribution-NonCommercial-NoDerivs 3.0 Thailand http://creativecommons.org/licenses/by-nc-nd/3.0/th/ application/pdf application/pdf มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language Thai
topic น้ำยาง การตลาด
ชาวสวนยาง สะเดา(สงขลา)
เกษตรกร
spellingShingle น้ำยาง การตลาด
ชาวสวนยาง สะเดา(สงขลา)
เกษตรกร
ศศิประภา อัคคอิชยา
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกขายน้ำยางสดให้แก่สหกรณ์: กรณีศึกษา สหกรณ์กองทุนสวนยางใน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
description บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต(บริหารธุรกิจ),2559
author2 ทิพวรรณ จันทมณีโชติ
author_facet ทิพวรรณ จันทมณีโชติ
ศศิประภา อัคคอิชยา
format Theses and Dissertations
author ศศิประภา อัคคอิชยา
author_sort ศศิประภา อัคคอิชยา
title ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกขายน้ำยางสดให้แก่สหกรณ์: กรณีศึกษา สหกรณ์กองทุนสวนยางใน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
title_short ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกขายน้ำยางสดให้แก่สหกรณ์: กรณีศึกษา สหกรณ์กองทุนสวนยางใน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
title_full ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกขายน้ำยางสดให้แก่สหกรณ์: กรณีศึกษา สหกรณ์กองทุนสวนยางใน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
title_fullStr ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกขายน้ำยางสดให้แก่สหกรณ์: กรณีศึกษา สหกรณ์กองทุนสวนยางใน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
title_full_unstemmed ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกขายน้ำยางสดให้แก่สหกรณ์: กรณีศึกษา สหกรณ์กองทุนสวนยางใน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
title_sort ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเลือกขายน้ำยางสดให้แก่สหกรณ์: กรณีศึกษา สหกรณ์กองทุนสวนยางใน อำเภอสะเดา จังหวัดสงขลา
publisher มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
publishDate 2020
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/13192
_version_ 1695734276194041856