สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา วิธีการศึกษาใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจาก ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ชาวประมงพื้นบ้าน ผู้เลี้ยงปลาในกระชัง เจ้าหน้าที่รัฐ พ่อค้า จำนวน 9 คน สังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมจากกิจกรรมการทำประมง ตลอดจนสภา...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์, เก็ตถวา บุญปราการ, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด, รัชตา ธรรมเจริญ, สุภาวดี ธรรมรัตน์ และนันทรัฐ สุริโย
Format: Other
Published: 2016
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14705
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
id th-psu.2016-14705
record_format dspace
spelling th-psu.2016-147052021-05-17T10:50:27Z สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์, เก็ตถวา บุญปราการ, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด, รัชตา ธรรมเจริญ, สุภาวดี ธรรมรัตน์ และนันทรัฐ สุริโย ความไม่มั่นคงทางอาหาร งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา วิธีการศึกษาใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจาก ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ชาวประมงพื้นบ้าน ผู้เลี้ยงปลาในกระชัง เจ้าหน้าที่รัฐ พ่อค้า จำนวน 9 คน สังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมจากกิจกรรมการทำประมง ตลอดจนสภาพภูมินิเวศของชุมชนที่ศึกษา 3 ชุมชน คือชุมชนเกาะยอ ชุมชนทําเสา ชุมชนหัวเขา และสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยนำข้อมูลที่ได้มาจัดหมวดหมู่ตามประเด็นที่ศึกษา ถอดรหัส ตีความปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ศึกษานำเสนอข้อมูลโดยใช๎วิธีการพรรณนา และบรรยายกราฟและตาราง ผลการวิจัยพบว่า สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงพบว่า มีการเข้าถึงทรัพยากรประมงได้หลากหลาย ได้แก่สิทธิการเข้าถึงโดยเทคโนโลยี และทุนซึ่งหากใครมีเทคโนโลยีหรือมีทุนสูงก็จะยิ่งมีความสามารถในการเข้าถึงทรัพยากรประมงได้มากกว่าคนอื่น การเข้าถึงโดยอาศัยกลไกตลาดโดยตลาดกำหนดราคาปลา การทำประมง และการซื้อขายสัตว์น้ำ ผ่านพ่อค้าคนกลางเจ้าของแพปลา การเข้าถึงทรัพยากรประมงโดยอาศัยแรงงานส่วนใหญ่เป็นแรงงานในครัวเรือน ญาติพี่น้อง และคนในชุมชนที่ช่วยในการเก็บเกี่ยวผลผลิต การซ่อมแห อวน การเข้าถึงโดยอาศัยความรู้และภูมิปัญญาเป็นสิ่งที่ชาวประมงสั่งสมองค์ความรู้และประสบการณ์อันยาวนานถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นในวิถีการทำประมง การเข้าถึงทรัพยากรประมงโดยความสัมพันธ์เชิงอำนาจพบว่า อำนาจอาจอยู่ในรูปแบบที่หลากหลายการจัดการฟาร์มทะเลเป็นการเข้าถึงโดยชุมชนที่จะต่อรองกับอำนาจรัฐ การเข้าถึงทรัพยากรด้วยอัตลักษณ์ทางสังคมพบว่า กลุ่มชาวประมงต่างร่วมสร้างอัตลักษณ์และนิยามความหมายที่แตกต่างหลากหลายในการเข๎าถึงทรัพยากรประมง โดยร่วมนิยามความหมายทรัพยากรประมงให้ป็นพื้นที่ของการอนุรักษ์ การอ้างสิทธิหน้าบ้านหลังบ้านการจับจองวางเครื่องมือประมงถือเป็นสิทธิอันชอบธรรมสามารถซื้อขายสิทธิได้ 2016-02-25T03:26:00Z 2021-05-17T10:50:27Z 2016-02-25T03:26:00Z 2021-05-17T10:50:27Z 2552 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14705 application/pdf
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
topic ความไม่มั่นคงทางอาหาร
spellingShingle ความไม่มั่นคงทางอาหาร
เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์, เก็ตถวา บุญปราการ, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด, รัชตา ธรรมเจริญ, สุภาวดี ธรรมรัตน์ และนันทรัฐ สุริโย
สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา
description งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา วิธีการศึกษาใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์แบบเจาะลึกจาก ผู้ให้ข้อมูลหลัก ได้แก่ ชาวประมงพื้นบ้าน ผู้เลี้ยงปลาในกระชัง เจ้าหน้าที่รัฐ พ่อค้า จำนวน 9 คน สังเกตแบบไม่มีส่วนร่วมจากกิจกรรมการทำประมง ตลอดจนสภาพภูมินิเวศของชุมชนที่ศึกษา 3 ชุมชน คือชุมชนเกาะยอ ชุมชนทําเสา ชุมชนหัวเขา และสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยนำข้อมูลที่ได้มาจัดหมวดหมู่ตามประเด็นที่ศึกษา ถอดรหัส ตีความปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นในพื้นที่ศึกษานำเสนอข้อมูลโดยใช๎วิธีการพรรณนา และบรรยายกราฟและตาราง ผลการวิจัยพบว่า สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงพบว่า มีการเข้าถึงทรัพยากรประมงได้หลากหลาย ได้แก่สิทธิการเข้าถึงโดยเทคโนโลยี และทุนซึ่งหากใครมีเทคโนโลยีหรือมีทุนสูงก็จะยิ่งมีความสามารถในการเข้าถึงทรัพยากรประมงได้มากกว่าคนอื่น การเข้าถึงโดยอาศัยกลไกตลาดโดยตลาดกำหนดราคาปลา การทำประมง และการซื้อขายสัตว์น้ำ ผ่านพ่อค้าคนกลางเจ้าของแพปลา การเข้าถึงทรัพยากรประมงโดยอาศัยแรงงานส่วนใหญ่เป็นแรงงานในครัวเรือน ญาติพี่น้อง และคนในชุมชนที่ช่วยในการเก็บเกี่ยวผลผลิต การซ่อมแห อวน การเข้าถึงโดยอาศัยความรู้และภูมิปัญญาเป็นสิ่งที่ชาวประมงสั่งสมองค์ความรู้และประสบการณ์อันยาวนานถูกถ่ายทอดจากรุ่นสู่รุ่นในวิถีการทำประมง การเข้าถึงทรัพยากรประมงโดยความสัมพันธ์เชิงอำนาจพบว่า อำนาจอาจอยู่ในรูปแบบที่หลากหลายการจัดการฟาร์มทะเลเป็นการเข้าถึงโดยชุมชนที่จะต่อรองกับอำนาจรัฐ การเข้าถึงทรัพยากรด้วยอัตลักษณ์ทางสังคมพบว่า กลุ่มชาวประมงต่างร่วมสร้างอัตลักษณ์และนิยามความหมายที่แตกต่างหลากหลายในการเข๎าถึงทรัพยากรประมง โดยร่วมนิยามความหมายทรัพยากรประมงให้ป็นพื้นที่ของการอนุรักษ์ การอ้างสิทธิหน้าบ้านหลังบ้านการจับจองวางเครื่องมือประมงถือเป็นสิทธิอันชอบธรรมสามารถซื้อขายสิทธิได้
format Other
author เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์, เก็ตถวา บุญปราการ, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด, รัชตา ธรรมเจริญ, สุภาวดี ธรรมรัตน์ และนันทรัฐ สุริโย
author_facet เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์, เก็ตถวา บุญปราการ, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด, รัชตา ธรรมเจริญ, สุภาวดี ธรรมรัตน์ และนันทรัฐ สุริโย
author_sort เจตน์สฤษฎิ์ สังขพันธ์, เก็ตถวา บุญปราการ, ชุติมา หวังเบ็ญหมัด, รัชตา ธรรมเจริญ, สุภาวดี ธรรมรัตน์ และนันทรัฐ สุริโย
title สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา
title_short สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา
title_full สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา
title_fullStr สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา
title_full_unstemmed สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา
title_sort สิทธิการเข้าถึงทรัพยากรประมงของชุมชนประมงรอบทะเลสาบสงขลา
publishDate 2016
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14705
_version_ 1703979408667181056