รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ได้มอบหมายให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม ศูนย์ศึกษา สิ่งแวดล้อมระบบโลกและการปรับตัวเพื่อความยั่งยืน และ ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการ สิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย เครือข่า...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | Technical Report |
Language: | th_TH |
Published: |
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14819 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-14819 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-148192021-05-17T11:01:11Z รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน การจัดทำแผนแม่บทพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาระยะยาวและแผนการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในระดับพื้นที่ลุ่มน้ำทะเลสาบ คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ ความไม่มั่นคงทางอาหาร การกัดเซาะชายฝั่งทะเล คุณภาพสิ่งแวดล้อม ความเสื่อมโทรมของพื้นที่ที่มีคุณค่าทางศิลปกรรมและประวัติศาสตร์ ภัยพิบัติ น้ำท่วม ดินถล่ม การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ได้มอบหมายให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม ศูนย์ศึกษา สิ่งแวดล้อมระบบโลกและการปรับตัวเพื่อความยั่งยืน และ ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการ สิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย เครือข่ายภาคใต้ ดาเนินการศึกษาโครงการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดาเนินการ ๑. จัดทาแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ ๒. จัดทาแผนการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในระดับพื้นที่ลุ่มน้าทะเลสาบ สงขลา ผนวกรวมเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในแผนแม่บทฯ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ ๓. เตรียมความพร้อมให้แก่ประชาชนทุกภาคส่วน ให้มีชีวิตอยู่อย่างสอดคล้องปรองดองกับธรรมชาติ ตามแผนกลยุทธ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และกรอบการปรับตัวแคนคูน ๔. จัดทาโครงการนาร่องในพื้นที่ที่มีความอ่อนไหว และชุมชนมีความพร้อมในการดาเนินการ เอกสารฉบับนี้เป็น รำยงำนฉบับสมบูรณ์ ซึ่งทางคณะผู้ศึกษาได้ทาการทบทวนสถานการณ์และ ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์โครงสร้างปัญหาและสาเหตุ รวมถึงการนาเสนอ วิสัยทัศน์ แผนงาน โครงการ และตัวชี้วัด ตามหลักการวางแผนงานและโครงการตามกรอบเหตุผลสัมพันธ์ ตลอดจนได้จัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้ ในการดาเนินโครงการฯ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้อง ผ่านการประชุมสัมมนา และ การประชุมกลุ่มย่อย ๒ รอบ ใน ๑๖ ครั้ง เพื่อรับฟังความคิดเห็น ร่วมกับตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียรอบลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาที่เสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากประเด็นปัญหา สาคัญ ได้แก่ ปัญหาการลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศที่สาคัญ ความไม่มั่นคงทางอาหาร คุณภาพสิ่งแวดล้อม การกัดเซาะชายฝั่งทะเล ความเสื่อมโทรมของแหล่งศิลปกรรม และประวัติศาสตร์ ปัญหาอุทกภัย ภัยดินถล่ม ภายใต้บริบทของการถูกคุกคามจากการเปลี่ยนแปลงระบบ สิ่งแวดล้อมของโลก เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดม ความคิดเห็นต่อการจัดทาร่างแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาฯ จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในทุกภาค ส่วน โดยเฉพาะข้อเสนอแนะจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งจะเป็นผู้รับผิดชอบนาแผนไปปฏิบัติทั้งในภาพรวมทุก ขั้นตอน ซึ่งในส่วนของการจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ ในครั้งนี้ ได้ จัดทารายงานผลการศึกษาประกอบด้วย ๘ ส่วน ได้แก่ ๑) รายงานฉบับสมบูรณ์ ๒) รายงานสรุปสาหรับผู้บริหาร ๓) Executive Summary ๔) คู่มือเสริมสร้างองค์ความรู้ให้ชุมชนเพื่อรองรับการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ ภูมิอากาศ ๕) คู่มือการปรับปรุงเวปไซต์ ๖) พจนานุกรมข้อมูลภูมิสารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา (ข) ๗) แผ่นบันทึกข้อมูล รายงานผลการศึกษา ๘) แผ่นบันทึกข้อมูล เอกสารเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมขอขอบคุณคณะผู้ศึกษา ผู้เกี่ยวของ ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวแทนประชาคมลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาที่มีส่วน ร่วมสนับสนุน ให้ข้อมูล ข้อคิดเห็น และ ข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินโครงการ ส่งผลให้ การดาเนินโครงการสาเร็จตามวัตถุประสงค์ด้วยดี ทั้งนี้สานักงานฯ คาดหวังว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ ในการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาต่อไป สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม 2015-08-04T02:32:36Z 2021-05-17T11:01:10Z 2015-08-04T02:32:36Z 2021-05-17T11:01:10Z 2557 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14819 th_TH application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ ความไม่มั่นคงทางอาหาร การกัดเซาะชายฝั่งทะเล คุณภาพสิ่งแวดล้อม ความเสื่อมโทรมของพื้นที่ที่มีคุณค่าทางศิลปกรรมและประวัติศาสตร์ ภัยพิบัติ น้ำท่วม ดินถล่ม การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม |
spellingShingle |
การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ ความไม่มั่นคงทางอาหาร การกัดเซาะชายฝั่งทะเล คุณภาพสิ่งแวดล้อม ความเสื่อมโทรมของพื้นที่ที่มีคุณค่าทางศิลปกรรมและประวัติศาสตร์ ภัยพิบัติ น้ำท่วม ดินถล่ม การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน |
description |
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม ได้มอบหมายให้มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ โดยคณะการจัดการสิ่งแวดล้อม ศูนย์ศึกษา
สิ่งแวดล้อมระบบโลกและการปรับตัวเพื่อความยั่งยืน และ ศูนย์ความเป็นเลิศแห่งชาติด้านการจัดการ
สิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย เครือข่ายภาคใต้ ดาเนินการศึกษาโครงการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา
ปีงบประมาณ ๒๕๕๖ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อดาเนินการ
๑. จัดทาแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙
๒. จัดทาแผนการปรับตัวเพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ในระดับพื้นที่ลุ่มน้าทะเลสาบ
สงขลา ผนวกรวมเป็นยุทธศาสตร์หนึ่งในแผนแม่บทฯ พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙
๓. เตรียมความพร้อมให้แก่ประชาชนทุกภาคส่วน ให้มีชีวิตอยู่อย่างสอดคล้องปรองดองกับธรรมชาติ
ตามแผนกลยุทธ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และกรอบการปรับตัวแคนคูน
๔. จัดทาโครงการนาร่องในพื้นที่ที่มีความอ่อนไหว และชุมชนมีความพร้อมในการดาเนินการ
เอกสารฉบับนี้เป็น รำยงำนฉบับสมบูรณ์ ซึ่งทางคณะผู้ศึกษาได้ทาการทบทวนสถานการณ์และ
ปัญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การวิเคราะห์โครงสร้างปัญหาและสาเหตุ รวมถึงการนาเสนอ
วิสัยทัศน์ แผนงาน โครงการ และตัวชี้วัด ตามหลักการวางแผนงานและโครงการตามกรอบเหตุผลสัมพันธ์
ตลอดจนได้จัดทาข้อเสนอแนะเชิงนโยบายเพื่อสนับสนุนการแปลงแผนไปสู่การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม ทั้งนี้
ในการดาเนินโครงการฯ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ได้ให้ความสาคัญกับการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่
เกี่ยวข้อง ผ่านการประชุมสัมมนา และ การประชุมกลุ่มย่อย ๒ รอบ ใน ๑๖ ครั้ง เพื่อรับฟังความคิดเห็น
ร่วมกับตัวแทนผู้มีส่วนได้เสียรอบลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาที่เสี่ยงต่อการได้รับผลกระทบจากประเด็นปัญหา
สาคัญ ได้แก่ ปัญหาการลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพในระบบนิเวศที่สาคัญ
ความไม่มั่นคงทางอาหาร คุณภาพสิ่งแวดล้อม การกัดเซาะชายฝั่งทะเล ความเสื่อมโทรมของแหล่งศิลปกรรม
และประวัติศาสตร์ ปัญหาอุทกภัย ภัยดินถล่ม ภายใต้บริบทของการถูกคุกคามจากการเปลี่ยนแปลงระบบ
สิ่งแวดล้อมของโลก เช่น การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ตลอดจนการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อระดม
ความคิดเห็นต่อการจัดทาร่างแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาฯ จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในทุกภาค
ส่วน โดยเฉพาะข้อเสนอแนะจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องซึ่งจะเป็นผู้รับผิดชอบนาแผนไปปฏิบัติทั้งในภาพรวมทุก
ขั้นตอน ซึ่งในส่วนของการจัดทาแผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา พ.ศ. ๒๕๖๐-๒๕๗๙ ในครั้งนี้ ได้
จัดทารายงานผลการศึกษาประกอบด้วย ๘ ส่วน ได้แก่
๑) รายงานฉบับสมบูรณ์
๒) รายงานสรุปสาหรับผู้บริหาร
๓) Executive Summary
๔) คู่มือเสริมสร้างองค์ความรู้ให้ชุมชนเพื่อรองรับการปรับตัวต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศ
๕) คู่มือการปรับปรุงเวปไซต์
๖) พจนานุกรมข้อมูลภูมิสารสนเทศทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมลุ่มน้าทะเลสาบสงขลา
(ข)
๗) แผ่นบันทึกข้อมูล รายงานผลการศึกษา
๘) แผ่นบันทึกข้อมูล เอกสารเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมขอขอบคุณคณะผู้ศึกษา ผู้เกี่ยวของ
ทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และโดยเฉพาะอย่างยิ่งตัวแทนประชาคมลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาที่มีส่วน
ร่วมสนับสนุน ให้ข้อมูล ข้อคิดเห็น และ ข้อเสนอแนะต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อการดาเนินโครงการ ส่งผลให้
การดาเนินโครงการสาเร็จตามวัตถุประสงค์ด้วยดี ทั้งนี้สานักงานฯ คาดหวังว่ารายงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์
ในการดาเนินงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาลุ่มน้าทะเลสาบสงขลาต่อไป |
format |
Technical Report |
author |
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
author_facet |
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
author_sort |
คณะการจัดการสิ่งแวดล้อม, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ |
title |
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน |
title_short |
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน |
title_full |
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน |
title_fullStr |
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน |
title_full_unstemmed |
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน |
title_sort |
รายงานฉบับสมบูรณ์ โครงการพัฒนาลุ่มน้ำทะเลสาบสงขลาอย่างยั่งยืน |
publisher |
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
publishDate |
2015 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/14819 |
_version_ |
1703978997409382400 |