ฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ของราเอนโดไฟท์ที่แยกได้จากพืชสกุลไมร์ทาซีอี้ที่พบในพื้นที่ป่าพรุควนเคร็ง
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ของราเอนโดไฟท์ที่แยกได้จากพืชสกุลไมร์ทาซีอี้ ที่พบใน พื้นที่ป่าพรุควนเคร็ง จานวน 4 ชนิด คือ เสม็ด เสม็ดขาว หว้า และโทะ ผลการศึกษาพบว่าสามารถแยกราเอนโดไฟท์ ได้จากพืชทุกชนิดและแยกได้ทั้งหมด 124 ไอโซเลต เมื่อนาน้าเลี้ยงเชื้อราเอนโดไฟท์อายุ 3 สัปดา...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Format: | Technical Report |
Language: | th_TH |
Published: |
วารสารวิชาการและวิจัย มทร.พระนคร ฉบับพิเศษ
2016
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15008 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
Summary: | งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาฤทธิ์ต้านจุลินทรีย์ของราเอนโดไฟท์ที่แยกได้จากพืชสกุลไมร์ทาซีอี้ ที่พบใน
พื้นที่ป่าพรุควนเคร็ง จานวน 4 ชนิด คือ เสม็ด เสม็ดขาว หว้า และโทะ ผลการศึกษาพบว่าสามารถแยกราเอนโดไฟท์
ได้จากพืชทุกชนิดและแยกได้ทั้งหมด 124 ไอโซเลต เมื่อนาน้าเลี้ยงเชื้อราเอนโดไฟท์อายุ 3 สัปดาห์ ไปทดสอบฤทธิ์
เบื้องต้นในการต้านจุลินทรีย์ก่อโรค โดยวิธี agar well diffusion พบว่ามีราเอนโดไฟท์ 46 ไอโซเลต (37.1%) ที่
สามารถสร้างสารต้านจุลินทรีย์ก่อโรคได้อย่างน้อย 1 ชนิด เมื่อทาการสกัดสารจากน้าเลี้ยงเชื้อและเส้นใยของราเอนโด
ไฟท์ที่มีฤทธิ์จากการทดสอบเบื้องต้นด้วยตัวทาละลายอินทรีย์ และนาไปทดสอบหาค่า MIC ด้วยวิธี microdilution
broth พบว่า สารสกัดจากราเอนโดไฟท์ 156 สาร จากจานวนทั้งหมด 174 สาร (89.6%) ให้ค่า MIC ≤ 200
μg/mL โดยให้ค่า MIC ต่าสุดในการยับยั้งเชื้อ S. aureus ATCC25923, MRSA SK1, P. aeruginosa ATCC27853,
C. albican ATCC90028,C. neoformmans ATCC90112 และ M. gypseum เท่ากับ 128, 200, 200, 64, 200,
16 และ 200 μg/mL ตามลาดับ |
---|