การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมในพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช

การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมในพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะชุมชนทั่วไป ศักยภาพด้านเศรษฐกิจสังคม บทบาทหญิงชาย ลักษณะการทำ การประมง ปัญหาในชุมชน และแนวทางการแก้ไข โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ ชุมชนรอบพรุควนเคร็ง จำนวน 8 หมู่บ้าน ระหว่างเดือนตุลาคม 2549 ถึงเดือนกันยาย...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: อำพร, ศักดิ์เศรษฐ, ชไมพร, แก้วศรีทอง, สุภาพ, สังขไพทูรย์, หฤษฎ์, บินโต๊ะหีม, สุวิมล, สี่หิรัญวงศ์
Format: Technical Report
Language:th_TH
Published: กรมประมง 2016
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15147
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15147
record_format dspace
spelling th-psu.2016-151472021-05-17T11:19:16Z การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมในพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช Participatory Rural Appraisal (PRA) in Kuan Kreng Peatswamp, Nakhon Si Thammarat Province อำพร, ศักดิ์เศรษฐ ชไมพร, แก้วศรีทอง สุภาพ, สังขไพทูรย์ หฤษฎ์, บินโต๊ะหีม สุวิมล, สี่หิรัญวงศ์ การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม คุณภาพสิ่งแวดล้อม การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมในพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะชุมชนทั่วไป ศักยภาพด้านเศรษฐกิจสังคม บทบาทหญิงชาย ลักษณะการทำ การประมง ปัญหาในชุมชน และแนวทางการแก้ไข โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ ชุมชนรอบพรุควนเคร็ง จำนวน 8 หมู่บ้าน ระหว่างเดือนตุลาคม 2549 ถึงเดือนกันยายน 2550 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมีทั้งประชุมย่อย การ สังเกตแบบมีส่วนร่วม แบบสัมภาษณ์เชิงลึก การระดมความคิดเห็น และนำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า สภาพพื้นที่ทั่วไปของหมู่บ้านบริเวณพรุควนเคร็งส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่ม ประกอบไปด้วยสวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน นาข้าว พื้นที่ปลูกผัก และป่าพรุ จำนวนครัวเรือนในหมู่บ้าน 70-135 ครัวเรือน การกระจายของครัวเรือนไม่หนาแน่น ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร และรับจ้างทั่วไป การ คมนาคมสะดวก ประวัติการก่อตั้งหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ย้ายมาจากที่อื่น ชื่อของหมู่บ้านถูกตั้งชื่อจากสิ่งที่พบ เป็นลักษณะเด่นในหมู่บ้าน และเพี้ยนมาจากชื่อเดิม อาชีพหลักของชุมชน ส่วนใหญ่เป็นอาชีพทำสวน ปลูก ผัก ทำนา รับจ้างทั่วไป หัตถกรรม และเลี้ยงสัตว์ ส่วนอาชีพรอง ได้แก่ ทำการประมง ค้าขาย รับราชการ และ เลี้ยงปลา ปฏิทินในการประกอบอาชีพต่างๆ มักทำตลอดทั้งปี การทำการประมงมีการใช้เครื่องมือประมงตามสภาพของพื้นที่ และฤดูกาล ระดับฐานะของชุมชนส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลางถึงค่อนข้างยากจน ประเพณีต่างๆ คือ งานชักพระ งานบุญสาร์ทเดือนสิบ สงกรานต์ งานทำบุญวันปีใหม่ และงานบุญทอดกฐิน- ผ้าป่า กิจกรรมที่ใช้แรงงานมากๆ ส่วนใหญ่เพศชายมักมีบทบาทในสัดส่วนที่มากกว่าเพศหญิง การประมง ส่วนใหญ่ทำในบริเวณหมู่บ้านตนเองโดยใช้เรือพายและเรือหางยาวเป็นพาหนะในการเดินทาง สัตว์น้ำที่จับ ได้จะนำมาบริโภคภายในครัวเรือน และแปรรูป ส่วนที่เหลือจากการบริโภคจะนำไปขายในตลาด หรือเพื่อน บ้าน เครื่องมือทำการประมงที่นิยมใช้มากที่สุดในพรุควนเคร็ง คือ ลอบ และข่าย ปัญหาหลักของชุมชน ได้แก่ จำนวนสัตว์น้ำลดลง และไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ซึ่งชุมชนได้ เสนอแนวทางการแก้ปัญหาสัตว์น้ำลดลง คือ ควรมีการเปิดประตูระบายน้ำอุทกวิภาชย์ประสิทธิ์บ่อยขึ้น เพื่อให้น้ำไหลหมุนเวียนทำให้เกิดการถ่ายเทน้ำเสียและสัตว์น้ำกร่อยได้มีโอกาสเข้ามาในพื้นที่ป่าพรุฯ ควร ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำมากขึ้น ลอกคลองต่างๆ เพื่อกำจัดวัชพืช เจ้าหน้าที่ต้องเข้มงวดในการควบคุมการใช้ เครื่องมือประมง และชุมชนควรมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรประมง ส่วนปัญหาการถือครอง ที่ดินชุมชนเสนอให้หน่วยงานของรัฐกำหนดเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติและพื้นที่ในการใช้ประโยชน์ให้ ชัดเจน ให้มีการออกเอกสารสิทธิ์ในพื้นที่ทำกิน 2016-02-25T03:17:34Z 2021-05-17T11:19:16Z 2016-02-25T03:17:34Z 2021-05-17T11:19:16Z 2553 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15147 th_TH เอกสารทางวิชาการ;24/2553 application/pdf กรมประมง
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม
คุณภาพสิ่งแวดล้อม
การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ
spellingShingle การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม
คุณภาพสิ่งแวดล้อม
การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ
อำพร, ศักดิ์เศรษฐ
ชไมพร, แก้วศรีทอง
สุภาพ, สังขไพทูรย์
หฤษฎ์, บินโต๊ะหีม
สุวิมล, สี่หิรัญวงศ์
การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมในพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช
description การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมในพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช มี วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะชุมชนทั่วไป ศักยภาพด้านเศรษฐกิจสังคม บทบาทหญิงชาย ลักษณะการทำ การประมง ปัญหาในชุมชน และแนวทางการแก้ไข โดยมีกลุ่มเป้าหมาย คือ ชุมชนรอบพรุควนเคร็ง จำนวน 8 หมู่บ้าน ระหว่างเดือนตุลาคม 2549 ถึงเดือนกันยายน 2550 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมีทั้งประชุมย่อย การ สังเกตแบบมีส่วนร่วม แบบสัมภาษณ์เชิงลึก การระดมความคิดเห็น และนำเสนอข้อมูลเชิงพรรณนา ผลการศึกษาพบว่า สภาพพื้นที่ทั่วไปของหมู่บ้านบริเวณพรุควนเคร็งส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ลุ่ม ประกอบไปด้วยสวนยางพารา สวนปาล์มน้ำมัน นาข้าว พื้นที่ปลูกผัก และป่าพรุ จำนวนครัวเรือนในหมู่บ้าน 70-135 ครัวเรือน การกระจายของครัวเรือนไม่หนาแน่น ส่วนใหญ่เป็นเกษตรกร และรับจ้างทั่วไป การ คมนาคมสะดวก ประวัติการก่อตั้งหมู่บ้าน ส่วนใหญ่ย้ายมาจากที่อื่น ชื่อของหมู่บ้านถูกตั้งชื่อจากสิ่งที่พบ เป็นลักษณะเด่นในหมู่บ้าน และเพี้ยนมาจากชื่อเดิม อาชีพหลักของชุมชน ส่วนใหญ่เป็นอาชีพทำสวน ปลูก ผัก ทำนา รับจ้างทั่วไป หัตถกรรม และเลี้ยงสัตว์ ส่วนอาชีพรอง ได้แก่ ทำการประมง ค้าขาย รับราชการ และ เลี้ยงปลา ปฏิทินในการประกอบอาชีพต่างๆ มักทำตลอดทั้งปี การทำการประมงมีการใช้เครื่องมือประมงตามสภาพของพื้นที่ และฤดูกาล ระดับฐานะของชุมชนส่วนใหญ่อยู่ในระดับปานกลางถึงค่อนข้างยากจน ประเพณีต่างๆ คือ งานชักพระ งานบุญสาร์ทเดือนสิบ สงกรานต์ งานทำบุญวันปีใหม่ และงานบุญทอดกฐิน- ผ้าป่า กิจกรรมที่ใช้แรงงานมากๆ ส่วนใหญ่เพศชายมักมีบทบาทในสัดส่วนที่มากกว่าเพศหญิง การประมง ส่วนใหญ่ทำในบริเวณหมู่บ้านตนเองโดยใช้เรือพายและเรือหางยาวเป็นพาหนะในการเดินทาง สัตว์น้ำที่จับ ได้จะนำมาบริโภคภายในครัวเรือน และแปรรูป ส่วนที่เหลือจากการบริโภคจะนำไปขายในตลาด หรือเพื่อน บ้าน เครื่องมือทำการประมงที่นิยมใช้มากที่สุดในพรุควนเคร็ง คือ ลอบ และข่าย ปัญหาหลักของชุมชน ได้แก่ จำนวนสัตว์น้ำลดลง และไม่มีกรรมสิทธิ์ในที่ดิน ซึ่งชุมชนได้ เสนอแนวทางการแก้ปัญหาสัตว์น้ำลดลง คือ ควรมีการเปิดประตูระบายน้ำอุทกวิภาชย์ประสิทธิ์บ่อยขึ้น เพื่อให้น้ำไหลหมุนเวียนทำให้เกิดการถ่ายเทน้ำเสียและสัตว์น้ำกร่อยได้มีโอกาสเข้ามาในพื้นที่ป่าพรุฯ ควร ปล่อยพันธุ์สัตว์น้ำมากขึ้น ลอกคลองต่างๆ เพื่อกำจัดวัชพืช เจ้าหน้าที่ต้องเข้มงวดในการควบคุมการใช้ เครื่องมือประมง และชุมชนควรมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการทรัพยากรประมง ส่วนปัญหาการถือครอง ที่ดินชุมชนเสนอให้หน่วยงานของรัฐกำหนดเขตพื้นที่อุทยานแห่งชาติและพื้นที่ในการใช้ประโยชน์ให้ ชัดเจน ให้มีการออกเอกสารสิทธิ์ในพื้นที่ทำกิน
format Technical Report
author อำพร, ศักดิ์เศรษฐ
ชไมพร, แก้วศรีทอง
สุภาพ, สังขไพทูรย์
หฤษฎ์, บินโต๊ะหีม
สุวิมล, สี่หิรัญวงศ์
author_facet อำพร, ศักดิ์เศรษฐ
ชไมพร, แก้วศรีทอง
สุภาพ, สังขไพทูรย์
หฤษฎ์, บินโต๊ะหีม
สุวิมล, สี่หิรัญวงศ์
author_sort อำพร, ศักดิ์เศรษฐ
title การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมในพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช
title_short การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมในพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช
title_full การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมในพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช
title_fullStr การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมในพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช
title_full_unstemmed การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมในพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช
title_sort การประเมินสภาวะชนบทแบบมีส่วนร่วมในพรุควนเคร็ง จังหวัดนครศรีธรรมราช
publisher กรมประมง
publishDate 2016
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15147
_version_ 1703979100185559040