โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (มะพร้าว) จังหวัดพัทลุง ปี 2557
มะพร้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญที่เกี่ยวข้องโดยตรงต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของประชากรโลก เนื่องจากเป็นปัจจัยสำคัญในการประกอบอาหาร ได้แก่ กะทิ วุ้นมะพร้าว น้ำมะพร้าว น้ำมันมะพร้าว ฯลฯ เกือบทุกส่วนของมะพร้าวใช้ประโยชน์ได้นานัปการ เช่น เปลือก ใบ กะลา ก้าน ลำต้น มะพร้าว เป็นต้น ทั่วโลกมีการผลิตปีละประมาณ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Format: | Other |
Language: | th_TH |
Published: |
สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15195 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-15195 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-151952021-05-17T11:21:45Z โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (มะพร้าว) จังหวัดพัทลุง ปี 2557 ชูชีพ วรรธนะเพียร สมนึก, คงชู กฤษณชนม์, เทพเกลี้ยง ความไม่มั่นคงทางอาหาร มะพร้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญที่เกี่ยวข้องโดยตรงต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของประชากรโลก เนื่องจากเป็นปัจจัยสำคัญในการประกอบอาหาร ได้แก่ กะทิ วุ้นมะพร้าว น้ำมะพร้าว น้ำมันมะพร้าว ฯลฯ เกือบทุกส่วนของมะพร้าวใช้ประโยชน์ได้นานัปการ เช่น เปลือก ใบ กะลา ก้าน ลำต้น มะพร้าว เป็นต้น ทั่วโลกมีการผลิตปีละประมาณ 65 ล้านตัน โดยมีประเทศผู้ผลิตมะพร้าวสูงสุด 5 อันดับแรกคือ อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ศรีลังกา และปาปัวนิวกินี สำหรับประเทศไทยสามารถผลิตได้เป็นลำดับที่ 6 ในปี 2555 คาดว่าเนื้อที่ให้ผลผลิตประมาณ 1.32 ล้านไร่ ผลผลิต 1.057 ล้านต้น ผลผลิตต่อไร่ 802 กิโลกรัม ซึ่งการผลิตมะพร้าวของไทยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาได้ประสบกับปัญหาสำคัญ ได้แก่ พื้นที่ปลูก ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ลดลง โดยสาเหตุประการสำคัญที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการผลิตมะพร้าวของไทย ซึ่งได้แก่ การปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันซึ่งให้ผลตอบแทนสูงกว่ามะพร้าว นอกจากนั้นต้นมะพร้าวมีอายุมากเสื่อมโทรม ขาดการบำรุงรักษาอย่างเพียงพอ ตลอดจนมีการระบาดทำลายของศัตรูมะพร้าว การประสบกับภาวะฝนแล้ง ในปี 2553 ทำให้เกิดการระบาดทำลายของแมลงดำหนามและหนอนหัวดำ ซึ่งทำให้เกิดวิกฤตการณ์การขาดแคลนมะพร้าว ทำให้ราคามะพร้าวเพิ่มสูงขึ้นจากผลละ 8-9 บาท เป็นผลละ 18-20 บาท และในช่วงปลายปี 2554 การผลิตมะพร้าวของไทย ได้ปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติ ทำให้ ผลผลิตที่เกษตรกรผลิตได้บวกกับผลผลิตที่นำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน เกิดภาวะล้นตลาดขึ้น ส่งผลให้ในปี 2555 มะพร้าวมีราคาตกต่ำลงเหลือเพียงผลละประมาณ 3 บาทจากสถานการณ์การผลิตมะพร้าวของประเทศไทยดังกล่าวข้างต้น เกษตรกรมีความจำเป็นจะต้องเพิ่มผลผลิต และลดต้นทุนการผลิตต่อไร่ โดยใช้หลักการบริหารจัดการมะพร้าวเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะพร้าว ปี 2557 ขึ้น 2015-10-08T09:22:21Z 2021-05-17T11:21:44Z 2015-10-08T09:22:21Z 2021-05-17T11:21:44Z 2557 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15195 th_TH application/msword สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
ความไม่มั่นคงทางอาหาร |
spellingShingle |
ความไม่มั่นคงทางอาหาร ชูชีพ วรรธนะเพียร สมนึก, คงชู กฤษณชนม์, เทพเกลี้ยง โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (มะพร้าว) จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
description |
มะพร้าวเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญที่เกี่ยวข้องโดยตรงต่อชีวิตและความเป็นอยู่ของประชากรโลก เนื่องจากเป็นปัจจัยสำคัญในการประกอบอาหาร ได้แก่ กะทิ วุ้นมะพร้าว น้ำมะพร้าว น้ำมันมะพร้าว ฯลฯ เกือบทุกส่วนของมะพร้าวใช้ประโยชน์ได้นานัปการ เช่น เปลือก ใบ กะลา ก้าน ลำต้น มะพร้าว เป็นต้น ทั่วโลกมีการผลิตปีละประมาณ 65 ล้านตัน โดยมีประเทศผู้ผลิตมะพร้าวสูงสุด 5 อันดับแรกคือ อินเดีย อินโดนีเซีย ฟิลิปปินส์ ศรีลังกา และปาปัวนิวกินี สำหรับประเทศไทยสามารถผลิตได้เป็นลำดับที่ 6 ในปี 2555 คาดว่าเนื้อที่ให้ผลผลิตประมาณ 1.32 ล้านไร่ ผลผลิต 1.057 ล้านต้น ผลผลิตต่อไร่ 802 กิโลกรัม ซึ่งการผลิตมะพร้าวของไทยในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาได้ประสบกับปัญหาสำคัญ ได้แก่ พื้นที่ปลูก ผลผลิตรวม ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ลดลง โดยสาเหตุประการสำคัญที่ส่งผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการผลิตมะพร้าวของไทย ซึ่งได้แก่ การปรับเปลี่ยนพื้นที่ปลูกยางพาราและปาล์มน้ำมันซึ่งให้ผลตอบแทนสูงกว่ามะพร้าว นอกจากนั้นต้นมะพร้าวมีอายุมากเสื่อมโทรม ขาดการบำรุงรักษาอย่างเพียงพอ ตลอดจนมีการระบาดทำลายของศัตรูมะพร้าว การประสบกับภาวะฝนแล้ง ในปี 2553 ทำให้เกิดการระบาดทำลายของแมลงดำหนามและหนอนหัวดำ ซึ่งทำให้เกิดวิกฤตการณ์การขาดแคลนมะพร้าว ทำให้ราคามะพร้าวเพิ่มสูงขึ้นจากผลละ 8-9 บาท เป็นผลละ 18-20 บาท และในช่วงปลายปี 2554 การผลิตมะพร้าวของไทย ได้ปรับตัวเข้าสู่ภาวะปกติ ทำให้ ผลผลิตที่เกษตรกรผลิตได้บวกกับผลผลิตที่นำเข้าจากประเทศเพื่อนบ้าน เกิดภาวะล้นตลาดขึ้น ส่งผลให้ในปี 2555 มะพร้าวมีราคาตกต่ำลงเหลือเพียงผลละประมาณ 3 บาทจากสถานการณ์การผลิตมะพร้าวของประเทศไทยดังกล่าวข้างต้น เกษตรกรมีความจำเป็นจะต้องเพิ่มผลผลิต และลดต้นทุนการผลิตต่อไร่ โดยใช้หลักการบริหารจัดการมะพร้าวเพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขัน จึงได้จัดทำโครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตมะพร้าว ปี 2557 ขึ้น |
format |
Other |
author |
ชูชีพ วรรธนะเพียร สมนึก, คงชู กฤษณชนม์, เทพเกลี้ยง |
author_facet |
ชูชีพ วรรธนะเพียร สมนึก, คงชู กฤษณชนม์, เทพเกลี้ยง |
author_sort |
ชูชีพ วรรธนะเพียร |
title |
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (มะพร้าว) จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_short |
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (มะพร้าว) จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_full |
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (มะพร้าว) จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_fullStr |
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (มะพร้าว) จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_full_unstemmed |
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (มะพร้าว) จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_sort |
โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร (มะพร้าว) จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
publisher |
สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร |
publishDate |
2015 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15195 |
_version_ |
1703979483580596224 |