โครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร จังหวัดพัทลุง ปี 2557
ปัจจุบันผู้บริโภคมีความห่วงใยต่อสุขภาพมากขึ้น จึงให้ความสนใจแหล่งที่มาของสินค้าเกษตรและอาหาร ตระหนักถึงอันตรายต่อสุขภาพจากการบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดหรือปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ ความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) จึงเป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกันการค้าสินค้าเกษตรระหว่างประ...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Format: | Other |
Language: | th_TH |
Published: |
สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร
2015
|
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15200 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-15200 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-152002021-05-17T11:21:54Z โครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร จังหวัดพัทลุง ปี 2557 สมควร, วรรณรัตน์ ฐิติมา, เจียมสวัสดิ์ ปัจจุบันผู้บริโภคมีความห่วงใยต่อสุขภาพมากขึ้น จึงให้ความสนใจแหล่งที่มาของสินค้าเกษตรและอาหาร ตระหนักถึงอันตรายต่อสุขภาพจากการบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดหรือปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ ความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) จึงเป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกันการค้าสินค้าเกษตรระหว่างประเทศมีมาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) ถูกนำมาใช้เป็นข้อกีดกันทางการค้าสินค้าเกษตรและอาหารสำหรับการค้าระหว่างประเทศ นอกจากนี้ การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 ทำให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าเกษตรและอาหาร อย่างเสรีมากขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการผลิตและการค้าระหว่างประเทศไทยกับประเทศอาเซียนด้วยกันเพราะมาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชและความปลอดภัยด้านอาหารจะถูกนำมาเป็นเงื่อนไข ในทางการค้ามากขึ้นและรัฐบาลยังได้ประกาศนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก สินค้าเกษตรและอาหารต้องมีความปลอดภัยและได้มาตรฐาน กรมส่งเสริมการเกษตรกำหนดนโยบายและแนวทางการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2557 ภายใต้ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country strategy) ปี 2556 – 2561 ตามแผนปฏิบัติการด้านการเกษตร ซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร พร้อม ๆ ไปกับการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตการจัดการสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพ ปลอดภัย และการพัฒนาสินค้าเกษตรเพื่ออุตสาหกรรม โดยการนำนโยบายสู่การปฏิบัติในพื้นที่ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเพื่อให้เกิดความเหมาะสมแต่ละสภาพพื้นที่ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อเกษตรกร โดยกำหนดแนวทางด้านการพัฒนาองค์กรเกษตรกร ในการเสริมสร้างศักยภาพผู้นำยุวเกษตรกรและเครือข่ายทั้งในด้านการบริหารจัดการการผลิต การตลาดสินค้าเกษตร เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน การส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สมาชิกยุวเกษตรกรให้เข้มแข็งและสามารถพึ่งพาตนเองได้นั้น ต้องเกิดจากระบวนการเรียนรู้ร่วมกันภายในกลุ่มและชุมชนในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ทั้งในระดับของการพึ่งพาตนเองและในระดับของการแข่งขัน กลไกหนึ่งที่สนับสนุนให้ยุวเกษตรกรและชุมชนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มความสามารถไปสู่เป้าหมายดังกล่าว นั้นคือ การนำเอากระบวนการจัดตั้งกลุ่มการบริหารจัดการกลุ่มในขั้นพื้นฐาน ไปสู่การเชื่อมโยงเครือข่าย การมีส่วนร่วม การเสริมสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างยุวเกษตรกรให้ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ให้มีความสามารถในการจัดการกับทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างชาญฉลาด รวมทั้งการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ในการขับเคลื่อนการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรซึ่งก่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งในด้านเชิงธุรกิจและสังคม ตลอดจนการดำเนินการเพื่อการพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกรให้เข้มแข็ง สนับสนุนให้เกิดผู้นำกลุ่มยุวเกษตรกรที่มีความสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในเวทีของการบริหารงานเกษตรในระดับต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สมาชิกยุวเกษตรกร ให้มีความรู้ ความสามารถ มีความเข้มแข็ง และมีศักยภาพสูงในการผลิตทางการเกษตรทั้งเพื่อการบริโภคในประเทศและเพื่อการส่งออก อีกทั้งยังเป็นการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่เพื่อทดแทนเกษตรกรรุ่นเก่าที่ลดลงและเป็นบุคลากรที่สำคัญในภาคเกษตรกรรมต่อไป 2015-10-09T02:23:49Z 2021-05-17T11:21:54Z 2015-10-09T02:23:49Z 2021-05-17T11:21:54Z 2557 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15200 th_TH application/msword สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
description |
ปัจจุบันผู้บริโภคมีความห่วงใยต่อสุขภาพมากขึ้น จึงให้ความสนใจแหล่งที่มาของสินค้าเกษตรและอาหาร ตระหนักถึงอันตรายต่อสุขภาพจากการบริโภคอาหารที่ไม่สะอาดหรือปนเปื้อนเชื้อโรคและสารพิษ ความปลอดภัยของอาหาร (Food Safety) จึงเป็นเรื่องที่ได้รับความสนใจอย่างกว้างขวาง ในขณะเดียวกันการค้าสินค้าเกษตรระหว่างประเทศมีมาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช (SPS) ถูกนำมาใช้เป็นข้อกีดกันทางการค้าสินค้าเกษตรและอาหารสำหรับการค้าระหว่างประเทศ นอกจากนี้ การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ในปี 2558 ทำให้มีการเคลื่อนย้ายสินค้าเกษตรและอาหาร อย่างเสรีมากขึ้น ซึ่งจะมีผลกระทบต่อการผลิตและการค้าระหว่างประเทศไทยกับประเทศอาเซียนด้วยกันเพราะมาตรการด้านสุขอนามัยและสุขอนามัยพืชและความปลอดภัยด้านอาหารจะถูกนำมาเป็นเงื่อนไข ในทางการค้ามากขึ้นและรัฐบาลยังได้ประกาศนโยบายครัวไทยสู่ครัวโลก สินค้าเกษตรและอาหารต้องมีความปลอดภัยและได้มาตรฐาน
กรมส่งเสริมการเกษตรกำหนดนโยบายและแนวทางการดำเนินงานในปีงบประมาณ 2557 ภายใต้ยุทธศาสตร์ประเทศ (Country strategy) ปี 2556 – 2561 ตามแผนปฏิบัติการด้านการเกษตร ซึ่งมุ่งเน้นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร พร้อม ๆ ไปกับการพัฒนาขีดความสามารถในการผลิตการจัดการสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพ ปลอดภัย และการพัฒนาสินค้าเกษตรเพื่ออุตสาหกรรม โดยการนำนโยบายสู่การปฏิบัติในพื้นที่ให้สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาของจังหวัดและกลุ่มจังหวัดเพื่อให้เกิดความเหมาะสมแต่ละสภาพพื้นที่ และเกิดประโยชน์สูงสุดต่อเกษตรกร โดยกำหนดแนวทางด้านการพัฒนาองค์กรเกษตรกร ในการเสริมสร้างศักยภาพผู้นำยุวเกษตรกรและเครือข่ายทั้งในด้านการบริหารจัดการการผลิต การตลาดสินค้าเกษตร เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศในการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อการพึ่งพาตนเองได้อย่างยั่งยืน
การส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สมาชิกยุวเกษตรกรให้เข้มแข็งและสามารถพึ่งพาตนเองได้นั้น ต้องเกิดจากระบวนการเรียนรู้ร่วมกันภายในกลุ่มและชุมชนในการดำเนินกิจกรรมต่างๆ ทั้งในระดับของการพึ่งพาตนเองและในระดับของการแข่งขัน กลไกหนึ่งที่สนับสนุนให้ยุวเกษตรกรและชุมชนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มความสามารถไปสู่เป้าหมายดังกล่าว นั้นคือ การนำเอากระบวนการจัดตั้งกลุ่มการบริหารจัดการกลุ่มในขั้นพื้นฐาน ไปสู่การเชื่อมโยงเครือข่าย การมีส่วนร่วม การเสริมสร้างกระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างยุวเกษตรกรให้ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ให้มีความสามารถในการจัดการกับทรัพยากรในท้องถิ่นอย่างชาญฉลาด รวมทั้งการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ในการขับเคลื่อนการพัฒนางานส่งเสริมการเกษตรซึ่งก่อให้เกิดเครือข่ายความร่วมมือทั้งในด้านเชิงธุรกิจและสังคม ตลอดจนการดำเนินการเพื่อการพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกรให้เข้มแข็ง สนับสนุนให้เกิดผู้นำกลุ่มยุวเกษตรกรที่มีความสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในเวทีของการบริหารงานเกษตรในระดับต่าง ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ดังนั้น จึงจำเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร สมาชิกยุวเกษตรกร ให้มีความรู้ ความสามารถ มีความเข้มแข็ง และมีศักยภาพสูงในการผลิตทางการเกษตรทั้งเพื่อการบริโภคในประเทศและเพื่อการส่งออก อีกทั้งยังเป็นการสร้างและพัฒนาเกษตรกรรุ่นใหม่เพื่อทดแทนเกษตรกรรุ่นเก่าที่ลดลงและเป็นบุคลากรที่สำคัญในภาคเกษตรกรรมต่อไป |
format |
Other |
author |
สมควร, วรรณรัตน์ ฐิติมา, เจียมสวัสดิ์ |
spellingShingle |
สมควร, วรรณรัตน์ ฐิติมา, เจียมสวัสดิ์ โครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
author_facet |
สมควร, วรรณรัตน์ ฐิติมา, เจียมสวัสดิ์ |
author_sort |
สมควร, วรรณรัตน์ |
title |
โครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_short |
โครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_full |
โครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_fullStr |
โครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_full_unstemmed |
โครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
title_sort |
โครงการส่งเสริมและพัฒนากลุ่มยุวเกษตรกร จังหวัดพัทลุง ปี 2557 |
publisher |
สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร |
publishDate |
2015 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15200 |
_version_ |
1703978972528771072 |