โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning)

การผลิตสินค้าเกษตรหลายชนิดของประเทศไทยยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากเกษตรกรส่วนหนึ่งนำพื้นที่ที่มีความเหมาะสมน้อย/ไม่เหมาะสม มาใช้เพื่อปลูกพืช ส่งผลให้ประสิทธิภาพการผลิตโดยเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ต่ำ มีต้นทุนการผลิตสูงและในหลายสินค้าผลผลิตสินค้าเกษตรมากเกินความต้องการประสบสภาวะราคาตกต่ำเกิดภาระด้า...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ถาวร, ศรีสุข
Format: Other
Language:th_TH
Published: สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร 2015
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15230
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15230
record_format dspace
spelling th-psu.2016-152302021-05-17T11:22:53Z โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning) ถาวร, ศรีสุข ความไม่มั่นคงทางอาหาร การผลิตสินค้าเกษตรหลายชนิดของประเทศไทยยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากเกษตรกรส่วนหนึ่งนำพื้นที่ที่มีความเหมาะสมน้อย/ไม่เหมาะสม มาใช้เพื่อปลูกพืช ส่งผลให้ประสิทธิภาพการผลิตโดยเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ต่ำ มีต้นทุนการผลิตสูงและในหลายสินค้าผลผลิตสินค้าเกษตรมากเกินความต้องการประสบสภาวะราคาตกต่ำเกิดภาระด้านงบประมาณให้กับภาครัฐที่ต้องเข้าไปช่วยเหลือแทรกแซงราคา การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมเป็นแนวคิดที่ดำเนินการภายใต้นโยบายของรัฐบาลในการจัดการและใช้ประโยชน์ที่ดินของประเทศเพื่อประโยชน์สูงสุด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศเขตเหมาะสมสำหรับการผลิตแล้ว ได้แก่ ด้านพืช ประกอบด้วย ข้าว มันสำปะหลัง ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อยโรงงาน ลำไย และสับปะรดโรงงาน ซึ่งรวมถึง เงาะ ทุเรียน มังคุด กาแฟ มะพร้าว ด้านปศุสัตว์ ประกอบด้วย โคนม โคเนื้อ สุกร ไก่เนื้อ ไก่ไข่ และด้านประมง ประกอบด้วย กุ้ง ปลานิล ปลาน้ำจืด โดยในการประกาศเขตเหมาะสมการผลิต คำนึงถึงปัจจัยธรรมชาติที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ดิน น้ำ อากาศ แสงแดด ความชื้นสัมพัทธ์ (Land Suitability) และระดับความต้องการของพืช (Crop Requirement) การผลิตสินค้าเกษตรในปัจจุบัน (Existing Land Use) หรือเงื่อนไขสำหรับการผลิตอื่นๆ เช่น เป็นพื้นที่ปลอดโรค เป็นต้น ซึ่งในการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม นอกจากคำนึงถึงเขตการผลิตที่เหมาะสมแล้ว ยังต้องพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวข้อง คือ การปรับรูปแบบการผลิตในเขตเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม เพื่อสร้างความสมดุลระหว่างการผลิตและการตลาด การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การเพิ่มมูลค่าด้วยการพัฒนามาตรฐานสินค้าและลดต้นทุนด้วยการจัดการระบบขนส่งสินค้า (Logistic) เป็นต้น เมื่อมีการประกาศเขตเหมาะสมสำหรับการผลิตแล้ว ต้องถือว่าพื้นที่นั้นคือยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการผลิต ซึ่งระดับพื้นที่/จังหวัดต้องพิจารณาใช้พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเป็นยุทธศาสตร์การผลิตด้านการเกษตร โดยวางระบบการจัดการทั้งหมดเข้าไปในพื้นที่ การสนับสนุนด้านต่างๆ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1) พื้นที่ 2) ชนิดสินค้า พืช ปศุสัตว์ ประมงที่เหมาะสมกับพื้นที่ (Commodities) และ 3) เกษตรกรผู้ประกอบการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ (Human Resource) โดยใช้การตลาดเป็นตัวชี้นำในการส่งเสริมการผลิต ซึ่งตั้งเป้าหมายว่าผลิตออกมาแล้วต้องขายได้ในราคาที่เกษตรกรอยู่ได้ และมีเจ้าหน้าที่ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นผู้ให้คำแนะนำ และประสานงานกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องภายในพื้นที่ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยมีศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ซึ่งเป็นศูนย์ระดับชุมชนที่จัดตั้งขึ้นโดยใช้หลักการของโซนนิ่งร่วมกับความต้องการของเกษตรกร เป็นแหล่งศึกษาและเรียนรู้ของเกษตรกรและประชาชนที่สนใจในด้านการเกษตรจากสถานที่จริง เรียนรู้จากเกษตรกรต้นแบบที่ทำอาชีพการเกษตรและประสบความสำเร็จ เน้นการผลิตที่เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ ลดต้นทุนการผลิต พร้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2015-10-08T08:44:36Z 2021-05-17T11:22:52Z 2015-10-08T08:44:36Z 2021-05-17T11:22:52Z 2558 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15230 th_TH application/msword สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ความไม่มั่นคงทางอาหาร
spellingShingle ความไม่มั่นคงทางอาหาร
ถาวร, ศรีสุข
โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning)
description การผลิตสินค้าเกษตรหลายชนิดของประเทศไทยยังไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร เนื่องจากเกษตรกรส่วนหนึ่งนำพื้นที่ที่มีความเหมาะสมน้อย/ไม่เหมาะสม มาใช้เพื่อปลูกพืช ส่งผลให้ประสิทธิภาพการผลิตโดยเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ต่ำ มีต้นทุนการผลิตสูงและในหลายสินค้าผลผลิตสินค้าเกษตรมากเกินความต้องการประสบสภาวะราคาตกต่ำเกิดภาระด้านงบประมาณให้กับภาครัฐที่ต้องเข้าไปช่วยเหลือแทรกแซงราคา การบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรมเป็นแนวคิดที่ดำเนินการภายใต้นโยบายของรัฐบาลในการจัดการและใช้ประโยชน์ที่ดินของประเทศเพื่อประโยชน์สูงสุด กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้ประกาศเขตเหมาะสมสำหรับการผลิตแล้ว ได้แก่ ด้านพืช ประกอบด้วย ข้าว มันสำปะหลัง ยางพารา ปาล์มน้ำมัน ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ อ้อยโรงงาน ลำไย และสับปะรดโรงงาน ซึ่งรวมถึง เงาะ ทุเรียน มังคุด กาแฟ มะพร้าว ด้านปศุสัตว์ ประกอบด้วย โคนม โคเนื้อ สุกร ไก่เนื้อ ไก่ไข่ และด้านประมง ประกอบด้วย กุ้ง ปลานิล ปลาน้ำจืด โดยในการประกาศเขตเหมาะสมการผลิต คำนึงถึงปัจจัยธรรมชาติที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ดิน น้ำ อากาศ แสงแดด ความชื้นสัมพัทธ์ (Land Suitability) และระดับความต้องการของพืช (Crop Requirement) การผลิตสินค้าเกษตรในปัจจุบัน (Existing Land Use) หรือเงื่อนไขสำหรับการผลิตอื่นๆ เช่น เป็นพื้นที่ปลอดโรค เป็นต้น ซึ่งในการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม นอกจากคำนึงถึงเขตการผลิตที่เหมาะสมแล้ว ยังต้องพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวข้อง คือ การปรับรูปแบบการผลิตในเขตเหมาะสมน้อยและไม่เหมาะสม เพื่อสร้างความสมดุลระหว่างการผลิตและการตลาด การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต การเพิ่มมูลค่าด้วยการพัฒนามาตรฐานสินค้าและลดต้นทุนด้วยการจัดการระบบขนส่งสินค้า (Logistic) เป็นต้น เมื่อมีการประกาศเขตเหมาะสมสำหรับการผลิตแล้ว ต้องถือว่าพื้นที่นั้นคือยุทธศาสตร์ในการพัฒนาการผลิต ซึ่งระดับพื้นที่/จังหวัดต้องพิจารณาใช้พื้นที่ที่มีความเหมาะสมเป็นยุทธศาสตร์การผลิตด้านการเกษตร โดยวางระบบการจัดการทั้งหมดเข้าไปในพื้นที่ การสนับสนุนด้านต่างๆ ประกอบด้วย 3 ส่วน คือ 1) พื้นที่ 2) ชนิดสินค้า พืช ปศุสัตว์ ประมงที่เหมาะสมกับพื้นที่ (Commodities) และ 3) เกษตรกรผู้ประกอบการ เจ้าหน้าที่ของรัฐ (Human Resource) โดยใช้การตลาดเป็นตัวชี้นำในการส่งเสริมการผลิต ซึ่งตั้งเป้าหมายว่าผลิตออกมาแล้วต้องขายได้ในราคาที่เกษตรกรอยู่ได้ และมีเจ้าหน้าที่ของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์เป็นผู้ให้คำแนะนำ และประสานงานกับทุกภาคส่วนที่เกี่ยวข้องภายในพื้นที่ทั้งภาครัฐและเอกชน เพื่อให้เกิดผลเป็นรูปธรรม โดยมีศูนย์เรียนรู้การเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าเกษตร ซึ่งเป็นศูนย์ระดับชุมชนที่จัดตั้งขึ้นโดยใช้หลักการของโซนนิ่งร่วมกับความต้องการของเกษตรกร เป็นแหล่งศึกษาและเรียนรู้ของเกษตรกรและประชาชนที่สนใจในด้านการเกษตรจากสถานที่จริง เรียนรู้จากเกษตรกรต้นแบบที่ทำอาชีพการเกษตรและประสบความสำเร็จ เน้นการผลิตที่เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ ลดต้นทุนการผลิต พร้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
format Other
author ถาวร, ศรีสุข
author_facet ถาวร, ศรีสุข
author_sort ถาวร, ศรีสุข
title โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning)
title_short โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning)
title_full โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning)
title_fullStr โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning)
title_full_unstemmed โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (Zoning)
title_sort โครงการบริหารจัดการเขตเกษตรเศรษฐกิจสำหรับสินค้าเกษตรที่สำคัญ (zoning)
publisher สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร
publishDate 2015
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15230
_version_ 1703979025480810496