โครงการเตรียมความพร้อมของผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน จังหวัดพัทลุง ปี 2557

ในปี 2558 ประเทศไทย เป็นกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ่งการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนนี้อาจก่อให้เกิดผลทางด้านบวกและลบต่อสินค้าเกษตรของไทยหากไม่มีการเตรียมความพร้อม ประกอบกับสถานการณ์ด้านการตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร ของโลกในปัจจุบันที่มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง ไม่ว่า จะเป็นต้นทุนการผลิ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: ประจวบ, เพ็งประไพ
Format: Other
Language:th_TH
Published: สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร 2015
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15233
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15233
record_format dspace
spelling th-psu.2016-152332021-05-17T11:22:59Z โครงการเตรียมความพร้อมของผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน จังหวัดพัทลุง ปี 2557 ประจวบ, เพ็งประไพ ความไม่มั่นคงทางอาหาร ในปี 2558 ประเทศไทย เป็นกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ่งการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนนี้อาจก่อให้เกิดผลทางด้านบวกและลบต่อสินค้าเกษตรของไทยหากไม่มีการเตรียมความพร้อม ประกอบกับสถานการณ์ด้านการตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร ของโลกในปัจจุบันที่มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง ไม่ว่า จะเป็นต้นทุนการผลิต และมาตรฐานการผลิตสินค้า ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคในแต่ละประเทศ ผู้นำเข้า ซึ่งปัญหาในการนำเข้าสินค้าเกษตรที่พบ ส่วนหนึ่งเป็นปัญหาในด้านการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non–Trariff Barrier : NTB) ที่มีมากขึ้น โดยเฉพาะมาตรฐานการผลิต ข้อกำหนดการใช้แรงงาน ข้อกำหนด ด้านสิ่งแวดล้อม สำหรับปัญหาด้านต้นทุนการผลิตนั้น หากมีต้นทุนสูงเปรียบเทียบกับประเทศอาเซียนอื่นๆ อาจ ทำให้ขาดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก อีกทั้งในปัจจุบันยังมีปัญหาภาวะเศรษฐกิจถดถอยในประเทศ ผู้นำเข้าในภูมิภาคต่างๆ ทำให้ผู้ซื้อชะลอการส่งสินค้า และมีความโน้มเอียงไปในทิศทางที่ต้องการบริโภคสินค้าราคาถูก ทำให้การทำตลาดสินค้าเกษตรส่งออกของไทยมีความยากมากขึ้น กรมส่งเสริมการเกษตรได้รับมอบหมายจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้ดำเนินการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของผลไม้ 4 ชนิด คือ ทุเรียน มังคุด ลำไย และมะม่วง จึงทราบว่าผลไม้ทั้ง 4 ชนิด ซึ่งเป็น Product champion อยู่ในเกณฑ์ที่พร้อมจะแข่งขันได้ในระดับอาเซียน และเพื่อให้เกิดความพร้อมอย่างสมบูรณ์ในปี 2558 จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งเสริมให้ผลไม้ไทยและเกษตรกรให้มีความรู้ที่พร้อมจะยกระดับมาตรฐานการผลิตที่สูงขึ้นจากระดับเดิม (GAP) ให้ได้มาตรฐานระดับอาเซียน (ASEAN GAP) ภายใต้โครงการเตรียมความพร้อมผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน 2015-10-08T09:09:36Z 2021-05-17T11:22:59Z 2015-10-08T09:09:36Z 2021-05-17T11:22:59Z 2557 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15233 th_TH application/msword สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ความไม่มั่นคงทางอาหาร
spellingShingle ความไม่มั่นคงทางอาหาร
ประจวบ, เพ็งประไพ
โครงการเตรียมความพร้อมของผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน จังหวัดพัทลุง ปี 2557
description ในปี 2558 ประเทศไทย เป็นกลุ่มประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC) ซึ่งการเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนนี้อาจก่อให้เกิดผลทางด้านบวกและลบต่อสินค้าเกษตรของไทยหากไม่มีการเตรียมความพร้อม ประกอบกับสถานการณ์ด้านการตลาดสินค้าเกษตรและอาหาร ของโลกในปัจจุบันที่มีการแข่งขันกันอย่างรุนแรง ไม่ว่า จะเป็นต้นทุนการผลิต และมาตรฐานการผลิตสินค้า ที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคในแต่ละประเทศ ผู้นำเข้า ซึ่งปัญหาในการนำเข้าสินค้าเกษตรที่พบ ส่วนหนึ่งเป็นปัญหาในด้านการกีดกันทางการค้าที่มิใช่ภาษี (Non–Trariff Barrier : NTB) ที่มีมากขึ้น โดยเฉพาะมาตรฐานการผลิต ข้อกำหนดการใช้แรงงาน ข้อกำหนด ด้านสิ่งแวดล้อม สำหรับปัญหาด้านต้นทุนการผลิตนั้น หากมีต้นทุนสูงเปรียบเทียบกับประเทศอาเซียนอื่นๆ อาจ ทำให้ขาดความสามารถในการแข่งขันในตลาดโลก อีกทั้งในปัจจุบันยังมีปัญหาภาวะเศรษฐกิจถดถอยในประเทศ ผู้นำเข้าในภูมิภาคต่างๆ ทำให้ผู้ซื้อชะลอการส่งสินค้า และมีความโน้มเอียงไปในทิศทางที่ต้องการบริโภคสินค้าราคาถูก ทำให้การทำตลาดสินค้าเกษตรส่งออกของไทยมีความยากมากขึ้น กรมส่งเสริมการเกษตรได้รับมอบหมายจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ให้ดำเนินการวิเคราะห์ศักยภาพการแข่งขันของผลไม้ 4 ชนิด คือ ทุเรียน มังคุด ลำไย และมะม่วง จึงทราบว่าผลไม้ทั้ง 4 ชนิด ซึ่งเป็น Product champion อยู่ในเกณฑ์ที่พร้อมจะแข่งขันได้ในระดับอาเซียน และเพื่อให้เกิดความพร้อมอย่างสมบูรณ์ในปี 2558 จำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องส่งเสริมให้ผลไม้ไทยและเกษตรกรให้มีความรู้ที่พร้อมจะยกระดับมาตรฐานการผลิตที่สูงขึ้นจากระดับเดิม (GAP) ให้ได้มาตรฐานระดับอาเซียน (ASEAN GAP) ภายใต้โครงการเตรียมความพร้อมผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน
format Other
author ประจวบ, เพ็งประไพ
author_facet ประจวบ, เพ็งประไพ
author_sort ประจวบ, เพ็งประไพ
title โครงการเตรียมความพร้อมของผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน จังหวัดพัทลุง ปี 2557
title_short โครงการเตรียมความพร้อมของผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน จังหวัดพัทลุง ปี 2557
title_full โครงการเตรียมความพร้อมของผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน จังหวัดพัทลุง ปี 2557
title_fullStr โครงการเตรียมความพร้อมของผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน จังหวัดพัทลุง ปี 2557
title_full_unstemmed โครงการเตรียมความพร้อมของผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน จังหวัดพัทลุง ปี 2557
title_sort โครงการเตรียมความพร้อมของผลไม้ไทยก้าวไกลสู่ประชาคมอาเซียน จังหวัดพัทลุง ปี 2557
publisher สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร
publishDate 2015
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15233
_version_ 1703979523311140864