โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี ๒๕๕๘

การระบาดของศัตรูพืชนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องมาจากปัจจัยหลายประการ ทั้งปัจจัยภายใน ได้แก่ ลักษณะปลูกพืชที่เป็นพื้นที่กว้างติดต่อกันนาน การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชปริมาณมากทำให้ศัตรูธรรมชาติตาย และปัจจัยภายนอก ได้แก่ สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ศัตรูพืชขยายปริมาณเพิ่มมากขึ้นและเกิดการ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: วิมล, สิงหะพล
Format: Other
Language:th_TH
Published: สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร 2015
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15241
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15241
record_format dspace
spelling th-psu.2016-152412021-05-17T11:23:13Z โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี ๒๕๕๘ วิมล, สิงหะพล ความไม่มั่นคงทางอาหาร การระบาดของศัตรูพืชนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องมาจากปัจจัยหลายประการ ทั้งปัจจัยภายใน ได้แก่ ลักษณะปลูกพืชที่เป็นพื้นที่กว้างติดต่อกันนาน การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชปริมาณมากทำให้ศัตรูธรรมชาติตาย และปัจจัยภายนอก ได้แก่ สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ศัตรูพืชขยายปริมาณเพิ่มมากขึ้นและเกิดการพัฒนาสายพันธุ์ให้ต้านทานทำให้ดำรงชีวิตอยู่ได้ ทำให้ศัตรูพืชเกิดระบาดสร้างความเสียหายให้กับพืชผลทางการเกษตร ดังนั้นการเตรียมความพร้อมให้เกษตรกรสามารถรับมือกับภัยพิบัติด้านศัตรูพืชนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างมาก สำหรับการผลิตทางการเกษตร ทั้งเพื่อการบริโภคในประเทศและเพื่อการส่งออก ทั้งนี้ เพื่อลดความเสี่ยงด้านมาตรฐานและคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอนาคตอันใกล้ หากไม่มีมาตรการกักกันศัตรูพืชที่เข้มงวด จะเปิดโอกาสในการแพร่กระจายของศัตรูพืชได้กว้างขวางและรวดเร็วยิ่งขึ้น ส่งผลกระทบต่อการผลิตตลอดจนการส่งออกผลผลิตเกษตรของประเทศไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยต้องส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถเฝ้าระวังการระบาดของศัตรูพืชในพื้นที่การเกษตรของตน พัฒนาระบบติดตามสถานการณ์การระบาดศัตรูพืชให้ครอบคลุมพื้นที่ เพื่อให้สามารถดำเนินการป้องกันและกำจัดศัตรูพืชได้ทันก่อนที่จะเกิดการระบาดหรือสร้างความเสียหายให้กับผลผลิตทางการเกษตร และหากเกิดการระบาดของศัตรูพืชที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อผลผลิตทางการเกษตร ก็จำเป็นต้องมีมาตรการที่จะแก้ปัญหาหรือบรรเทาความเสียหายที่จะเกิดขึ้น โดยต้องอยู่บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของชุมชน และการใช้วิธีการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หรือการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (ไอพีเอ็ม) รวมถึงการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัย 2015-10-08T08:57:07Z 2021-05-17T11:23:12Z 2015-10-08T08:57:07Z 2021-05-17T11:23:12Z 2558 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15241 th_TH application/msword สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ความไม่มั่นคงทางอาหาร
spellingShingle ความไม่มั่นคงทางอาหาร
วิมล, สิงหะพล
โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี ๒๕๕๘
description การระบาดของศัตรูพืชนับวันจะทวีความรุนแรงมากขึ้น เนื่องมาจากปัจจัยหลายประการ ทั้งปัจจัยภายใน ได้แก่ ลักษณะปลูกพืชที่เป็นพื้นที่กว้างติดต่อกันนาน การใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชปริมาณมากทำให้ศัตรูธรรมชาติตาย และปัจจัยภายนอก ได้แก่ สภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ศัตรูพืชขยายปริมาณเพิ่มมากขึ้นและเกิดการพัฒนาสายพันธุ์ให้ต้านทานทำให้ดำรงชีวิตอยู่ได้ ทำให้ศัตรูพืชเกิดระบาดสร้างความเสียหายให้กับพืชผลทางการเกษตร ดังนั้นการเตรียมความพร้อมให้เกษตรกรสามารถรับมือกับภัยพิบัติด้านศัตรูพืชนั้น จึงมีความจำเป็นอย่างมาก สำหรับการผลิตทางการเกษตร ทั้งเพื่อการบริโภคในประเทศและเพื่อการส่งออก ทั้งนี้ เพื่อลดความเสี่ยงด้านมาตรฐานและคุณภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนในอนาคตอันใกล้ หากไม่มีมาตรการกักกันศัตรูพืชที่เข้มงวด จะเปิดโอกาสในการแพร่กระจายของศัตรูพืชได้กว้างขวางและรวดเร็วยิ่งขึ้น ส่งผลกระทบต่อการผลิตตลอดจนการส่งออกผลผลิตเกษตรของประเทศไทยอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ โดยต้องส่งเสริมให้เกษตรกรสามารถเฝ้าระวังการระบาดของศัตรูพืชในพื้นที่การเกษตรของตน พัฒนาระบบติดตามสถานการณ์การระบาดศัตรูพืชให้ครอบคลุมพื้นที่ เพื่อให้สามารถดำเนินการป้องกันและกำจัดศัตรูพืชได้ทันก่อนที่จะเกิดการระบาดหรือสร้างความเสียหายให้กับผลผลิตทางการเกษตร และหากเกิดการระบาดของศัตรูพืชที่ทำให้เกิดความเสียหายต่อผลผลิตทางการเกษตร ก็จำเป็นต้องมีมาตรการที่จะแก้ปัญหาหรือบรรเทาความเสียหายที่จะเกิดขึ้น โดยต้องอยู่บนพื้นฐานของการมีส่วนร่วมของชุมชน และการใช้วิธีการจัดการศัตรูพืชที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม หรือการจัดการศัตรูพืชโดยวิธีผสมผสาน (ไอพีเอ็ม) รวมถึงการใช้สารเคมีอย่างถูกต้องและปลอดภัย
format Other
author วิมล, สิงหะพล
author_facet วิมล, สิงหะพล
author_sort วิมล, สิงหะพล
title โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี ๒๕๕๘
title_short โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี ๒๕๕๘
title_full โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี ๒๕๕๘
title_fullStr โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี ๒๕๕๘
title_full_unstemmed โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี ๒๕๕๘
title_sort โครงการลดความเสี่ยงเกษตรกรจากการระบาดศัตรูพืช ปี ๒๕๕๘
publisher สำนักงานเกษตรจังหวัดพัทลุง กรมส่งเสริมการเกษตร
publishDate 2015
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15241
_version_ 1703979447617585152