การมีส่วนร่วมของเกษตรกร หมู่ที่ 5 ต.ตะแพน กิ่งอ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง

การวิจัยมีส่วนร่วมของเกษตรกร หมู่ที่ 5 บ้านท่ายูง ต.ตะแพน กิ่งอ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานระหว่างเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรกับตรกร ในด้านการวิเคราะห์พื้นที่และชุมชน การมีส่วนร่วมในกระบวนการกระตุ้นให้เกิดกลุ่ม และศึกษากิจกรรมของกลุ่ม โดยใช้วิธีการวิจัยแบบเ...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: วสันต์, กู้เกียรติกูล, วิจารย์, บุษรานนท์
Format: Other
Language:th_TH
Published: กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร 2016
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15253
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15253
record_format dspace
spelling th-psu.2016-152532021-05-17T11:23:34Z การมีส่วนร่วมของเกษตรกร หมู่ที่ 5 ต.ตะแพน กิ่งอ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง วสันต์, กู้เกียรติกูล วิจารย์, บุษรานนท์ การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม การวิจัยมีส่วนร่วมของเกษตรกร หมู่ที่ 5 บ้านท่ายูง ต.ตะแพน กิ่งอ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานระหว่างเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรกับตรกร ในด้านการวิเคราะห์พื้นที่และชุมชน การมีส่วนร่วมในกระบวนการกระตุ้นให้เกิดกลุ่ม และศึกษากิจกรรมของกลุ่ม โดยใช้วิธีการวิจัยแบบเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมของเกษตรกร (PARTICIPATORY ACTION RESEARCH) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ จากการวิเคราะห์พื้นที่และชุมชนพบว่า เกษตรกรมีทัศนคติไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพราะมีปัญหากับนโยบายในการปราบปราม ผกค. ของรัฐมาก่อน ถึงอย่างไรก็ตามเกษตรกรต้องการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องขาดเงินทุนในการสร้างสวนยางพารา ต้องการจัดตั้งร้านค้าในหมู่บ้านเพื่อแก้ปัญหาที่จะต้องไปซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค ในตัวอำเภอซึ่งห่างไกลประมาณ 27 กม. ในการกระตุ้นให้เกิดกลุ่มเกษตรกรได้ใช้วิธีพูดคุยกับคณะกรรมการหมู่บ้าน และผู้นำอาชีพต่าง ๆ โดยใช้แกนนำเหล่านั้นไปกระตุ้นให้เกษตรกรอื่นๆ เห็นความสำคัญในการแก้ปัญหา สำหรับการพูดคุยถึงหลักการในการทำงานหรือการหาข้อยุติในประเด็นต่าง ๆ จะใช้การประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านเป็นสำคัญ วิธีการกระตุ้นแกนนำที่ประสบความสำเร็จ คือ นำแกนนำของหมู่บ้านไปทัศนศึกษา แล้วเปรียบเทียบกิจกรรมของหมู่บ้านที่ประสบความสำเร็จกับหมู่บ้านของตนเอง ทั้งนี้ จะใช้วิธีเกษตรกรสอนเกษตรกรด้วยกันเอง หลังจากนั้นแกนนำหมู่บ้านโดยอาศัยเกษตรตำบลก็สามารถจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ปัจจุบัน (สิงหาคม 2534) มีเงินประมาณ 70,000 บาท และมีร้านค้าในหมู่บ้านที่มียอดขายประมาณเดือนละ 40,000 -70,000 บาท ขณะนี้(สิงหาคม 2534) หมู่บ้านกำลังจัดสร้างร้านค้าเป็นของหมู่บ้านเอง โดยอาศัยแรงงานของชาวบ้านทั้งหมด 2016-01-15T08:45:57Z 2021-05-17T11:23:34Z 2016-01-15T08:45:57Z 2021-05-17T11:23:34Z 2534 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15253 th_TH application/vnd.openxmlformats-officedocument.wordprocessingml.document กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม
spellingShingle การขาดการมีส่วนร่วมของประชาชนและการบริหารจัดการอย่างเหมาะสม
วสันต์, กู้เกียรติกูล
วิจารย์, บุษรานนท์
การมีส่วนร่วมของเกษตรกร หมู่ที่ 5 ต.ตะแพน กิ่งอ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง
description การวิจัยมีส่วนร่วมของเกษตรกร หมู่ที่ 5 บ้านท่ายูง ต.ตะแพน กิ่งอ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติงานระหว่างเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตรกับตรกร ในด้านการวิเคราะห์พื้นที่และชุมชน การมีส่วนร่วมในกระบวนการกระตุ้นให้เกิดกลุ่ม และศึกษากิจกรรมของกลุ่ม โดยใช้วิธีการวิจัยแบบเชิงปฏิบัติการอย่างมีส่วนร่วมของเกษตรกร (PARTICIPATORY ACTION RESEARCH) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ จากการวิเคราะห์พื้นที่และชุมชนพบว่า เกษตรกรมีทัศนคติไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ของรัฐ เพราะมีปัญหากับนโยบายในการปราบปราม ผกค. ของรัฐมาก่อน ถึงอย่างไรก็ตามเกษตรกรต้องการจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ เพื่อแก้ปัญหาเรื่องขาดเงินทุนในการสร้างสวนยางพารา ต้องการจัดตั้งร้านค้าในหมู่บ้านเพื่อแก้ปัญหาที่จะต้องไปซื้อสินค้าอุปโภคบริโภค ในตัวอำเภอซึ่งห่างไกลประมาณ 27 กม. ในการกระตุ้นให้เกิดกลุ่มเกษตรกรได้ใช้วิธีพูดคุยกับคณะกรรมการหมู่บ้าน และผู้นำอาชีพต่าง ๆ โดยใช้แกนนำเหล่านั้นไปกระตุ้นให้เกษตรกรอื่นๆ เห็นความสำคัญในการแก้ปัญหา สำหรับการพูดคุยถึงหลักการในการทำงานหรือการหาข้อยุติในประเด็นต่าง ๆ จะใช้การประชุมประจำเดือนของหมู่บ้านเป็นสำคัญ วิธีการกระตุ้นแกนนำที่ประสบความสำเร็จ คือ นำแกนนำของหมู่บ้านไปทัศนศึกษา แล้วเปรียบเทียบกิจกรรมของหมู่บ้านที่ประสบความสำเร็จกับหมู่บ้านของตนเอง ทั้งนี้ จะใช้วิธีเกษตรกรสอนเกษตรกรด้วยกันเอง หลังจากนั้นแกนนำหมู่บ้านโดยอาศัยเกษตรตำบลก็สามารถจัดตั้งกลุ่มออมทรัพย์ปัจจุบัน (สิงหาคม 2534) มีเงินประมาณ 70,000 บาท และมีร้านค้าในหมู่บ้านที่มียอดขายประมาณเดือนละ 40,000 -70,000 บาท ขณะนี้(สิงหาคม 2534) หมู่บ้านกำลังจัดสร้างร้านค้าเป็นของหมู่บ้านเอง โดยอาศัยแรงงานของชาวบ้านทั้งหมด
format Other
author วสันต์, กู้เกียรติกูล
วิจารย์, บุษรานนท์
author_facet วสันต์, กู้เกียรติกูล
วิจารย์, บุษรานนท์
author_sort วสันต์, กู้เกียรติกูล
title การมีส่วนร่วมของเกษตรกร หมู่ที่ 5 ต.ตะแพน กิ่งอ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง
title_short การมีส่วนร่วมของเกษตรกร หมู่ที่ 5 ต.ตะแพน กิ่งอ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง
title_full การมีส่วนร่วมของเกษตรกร หมู่ที่ 5 ต.ตะแพน กิ่งอ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง
title_fullStr การมีส่วนร่วมของเกษตรกร หมู่ที่ 5 ต.ตะแพน กิ่งอ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง
title_full_unstemmed การมีส่วนร่วมของเกษตรกร หมู่ที่ 5 ต.ตะแพน กิ่งอ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง
title_sort การมีส่วนร่วมของเกษตรกร หมู่ที่ 5 ต.ตะแพน กิ่งอ.ศรีบรรพต จ.พัทลุง
publisher กองวิจัยและพัฒนางานส่งเสริมการเกษตร กรมส่งเสริมการเกษตร
publishDate 2016
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15253
_version_ 1703979337858940928