การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2535-พ.ศ.2539
การศึกษาคุณภาพน้ารอบทะเลสาบสงขลา ซึ่งประกอบด้วย ทะเลสาบ ทะเลหลวง (ตอนกลาง ตอนล่างและตอนบน) และทะเลน้อย โดยปากทะเลสาบอยู่ติดกับทะเล (อ่าวไทย) ทาให้น้าทะเลหนุนเข้า จึงทาการศึกษาความเค็มของน้าในทะเลสาบ ทะเลหลวงและทะเลน้อย วัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางสาหรับวางแผนโครงการพัฒนาทะเลสาบสงขลา ให้สามารถใช้ประโย...
Saved in:
Main Authors: | , |
---|---|
Format: | Technical report |
Language: | th_TH |
Published: |
กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์สานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15277 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-15277 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-152772021-05-17T11:24:38Z การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2535-พ.ศ.2539 ศิริวัฒน์ม, สันติเมธวิรุฬ เจียมจิตร, ขวัญแก้ว คุณภาพสิ่งแวดล้อม การศึกษาคุณภาพน้ารอบทะเลสาบสงขลา ซึ่งประกอบด้วย ทะเลสาบ ทะเลหลวง (ตอนกลาง ตอนล่างและตอนบน) และทะเลน้อย โดยปากทะเลสาบอยู่ติดกับทะเล (อ่าวไทย) ทาให้น้าทะเลหนุนเข้า จึงทาการศึกษาความเค็มของน้าในทะเลสาบ ทะเลหลวงและทะเลน้อย วัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางสาหรับวางแผนโครงการพัฒนาทะเลสาบสงขลา ให้สามารถใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกพืช การอุปโภคบริโภคและการประมง โดยทาการศึกษาวิเคราะห์คุณภาพน้า เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคมถึงธันวาคม ติดต่อกันมาเป็นระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2535-2539) ผลการศึกษาพบว่า น้ามีความเค็มตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับการหนุนของน้าทะเลและปริมาณน้าฝนตลอดปีพบว่าในเดือนพฤศจิกายน และเดือนธันวาคม จะเป็นเดือนที่มีปริมาณน้าฝนมากที่สุดและมีความเค็มต่า ส่วนเดือนกันยายนและตุลาคมเป็นเดือนที่น้าทะเลหนุนเข้ามามาก และมีความเค็มสูง โดยเฉพาะที่บ้านเกาะนางคา ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ทะเลจะได้รับอิทธิพลจากน้าทะเล ซึมเข้ามาผ่านใต้ผิวดินด้วย ดังนั้นในเดือนเมษายนช่วงหน้าแล้งได้รับอิทธิพลจากน้าทะเล 2 ทาง จึงส่งผลให้ค่าความเค็มสูง โดยเฉลี่ยทั้ง 5 ปี ทะเลสาบสงขลา (สถานีบ้านหัวเขา, สถานีบ้านปากรอ) มีความเค็มสูงมาก EC เฉลี่ย 31120 micromhos/cm ทะเลหลวงตอนล่าง (สถานีบ้านเกาะนางคา, สถานีบ้านปากพะยูน) น้าเค็ม EC เฉลี่ย 11896 micromhos/cm ทะเลหลวงตอนกลาง (สถานีบ้านถิ่น) น้ากร่อย EC 3474 micromhos/cm ไม่สามารถใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกและอุปโภคบริโภคได้ ทะเลหลวงตอนบน (สถานีบ้านลาปา, สถานีบ้านระโนด, สถานีบ้านท่าช้าง, สถานีบ้านชิงแส) EC เฉลี่ย 1030 micromhos/cm ซึ่งจัดเป็นน้ากร่อยเล็กน้อย พอที่จะใช้สาหรับปลูกพืชที่ทนความเค็มได้บ้าง แต่ต้องมีการระบายน้าและล้างดินอยู่เสมอ ส่วนในทะเลน้อย เดือนกรกฎาคม 2535 ได้รับอิทธิพลจากน้าทะเลที่หนุนขึ้นมา โดยวัดค่า EC ได้ 4355 micromhos/cm ส่วน EC เฉลี่ย 417 micromhos/cm ซึ่งจัดเป็นน้าจืดใช้สาหรับปลูกพืชได้ทุกชนิดและอุปโภคบริโภคได้ โดยเฉลี่ย Ionic composition ประกอบด้วย Divalent cations (Ca+++Mg++) 24.64% Monovalent cation (Na+) 75.36% ของ Total Cations (meq/l) และ Alkalinity (CO3+HCO3) 5.53%, Chloride (CI) 83.36%, Sulphate (SO4) 11.11% ของ Total anions (meq/l) จากทะเลสาบถึงทะเลน้อยมี Ion Content อยู่ระหว่าง 3.78-431.45 meq/l (Cations equivalent) 2015-09-21T05:37:11Z 2021-05-17T11:24:37Z 2015-09-21T05:37:11Z 2021-05-17T11:24:37Z 2539 Technical report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15277 th_TH application/pdf กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์สานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
คุณภาพสิ่งแวดล้อม |
spellingShingle |
คุณภาพสิ่งแวดล้อม ศิริวัฒน์ม, สันติเมธวิรุฬ เจียมจิตร, ขวัญแก้ว การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2535-พ.ศ.2539 |
description |
การศึกษาคุณภาพน้ารอบทะเลสาบสงขลา ซึ่งประกอบด้วย ทะเลสาบ ทะเลหลวง (ตอนกลาง ตอนล่างและตอนบน) และทะเลน้อย โดยปากทะเลสาบอยู่ติดกับทะเล (อ่าวไทย) ทาให้น้าทะเลหนุนเข้า จึงทาการศึกษาความเค็มของน้าในทะเลสาบ ทะเลหลวงและทะเลน้อย วัตถุประสงค์เพื่อเป็นแนวทางสาหรับวางแผนโครงการพัฒนาทะเลสาบสงขลา ให้สามารถใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกพืช การอุปโภคบริโภคและการประมง โดยทาการศึกษาวิเคราะห์คุณภาพน้า เริ่มตั้งแต่เดือนมกราคมถึงธันวาคม ติดต่อกันมาเป็นระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2535-2539) ผลการศึกษาพบว่า น้ามีความเค็มตลอดเวลา ขึ้นอยู่กับการหนุนของน้าทะเลและปริมาณน้าฝนตลอดปีพบว่าในเดือนพฤศจิกายน และเดือนธันวาคม จะเป็นเดือนที่มีปริมาณน้าฝนมากที่สุดและมีความเค็มต่า ส่วนเดือนกันยายนและตุลาคมเป็นเดือนที่น้าทะเลหนุนเข้ามามาก และมีความเค็มสูง โดยเฉพาะที่บ้านเกาะนางคา ซึ่งตั้งอยู่ใกล้ทะเลจะได้รับอิทธิพลจากน้าทะเล ซึมเข้ามาผ่านใต้ผิวดินด้วย ดังนั้นในเดือนเมษายนช่วงหน้าแล้งได้รับอิทธิพลจากน้าทะเล 2 ทาง จึงส่งผลให้ค่าความเค็มสูง
โดยเฉลี่ยทั้ง 5 ปี ทะเลสาบสงขลา (สถานีบ้านหัวเขา, สถานีบ้านปากรอ) มีความเค็มสูงมาก EC เฉลี่ย 31120 micromhos/cm ทะเลหลวงตอนล่าง (สถานีบ้านเกาะนางคา, สถานีบ้านปากพะยูน) น้าเค็ม EC เฉลี่ย 11896 micromhos/cm ทะเลหลวงตอนกลาง (สถานีบ้านถิ่น) น้ากร่อย EC 3474 micromhos/cm ไม่สามารถใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูกและอุปโภคบริโภคได้ ทะเลหลวงตอนบน (สถานีบ้านลาปา, สถานีบ้านระโนด, สถานีบ้านท่าช้าง, สถานีบ้านชิงแส) EC เฉลี่ย 1030 micromhos/cm ซึ่งจัดเป็นน้ากร่อยเล็กน้อย พอที่จะใช้สาหรับปลูกพืชที่ทนความเค็มได้บ้าง แต่ต้องมีการระบายน้าและล้างดินอยู่เสมอ ส่วนในทะเลน้อย เดือนกรกฎาคม 2535 ได้รับอิทธิพลจากน้าทะเลที่หนุนขึ้นมา โดยวัดค่า EC ได้ 4355 micromhos/cm ส่วน EC เฉลี่ย 417 micromhos/cm ซึ่งจัดเป็นน้าจืดใช้สาหรับปลูกพืชได้ทุกชนิดและอุปโภคบริโภคได้
โดยเฉลี่ย Ionic composition ประกอบด้วย Divalent cations (Ca+++Mg++) 24.64% Monovalent cation (Na+) 75.36% ของ Total Cations (meq/l) และ Alkalinity (CO3+HCO3) 5.53%, Chloride (CI) 83.36%, Sulphate (SO4) 11.11% ของ Total anions (meq/l) จากทะเลสาบถึงทะเลน้อยมี Ion Content อยู่ระหว่าง 3.78-431.45 meq/l (Cations equivalent) |
format |
Technical report |
author |
ศิริวัฒน์ม, สันติเมธวิรุฬ เจียมจิตร, ขวัญแก้ว |
author_facet |
ศิริวัฒน์ม, สันติเมธวิรุฬ เจียมจิตร, ขวัญแก้ว |
author_sort |
ศิริวัฒน์ม, สันติเมธวิรุฬ |
title |
การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2535-พ.ศ.2539 |
title_short |
การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2535-พ.ศ.2539 |
title_full |
การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2535-พ.ศ.2539 |
title_fullStr |
การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2535-พ.ศ.2539 |
title_full_unstemmed |
การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2535-พ.ศ.2539 |
title_sort |
การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2535-พ.ศ.2539 |
publisher |
กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์สานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน |
publishDate |
2015 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15277 |
_version_ |
1703979374101921792 |