การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2534
การศึกษาคุณภาพน้ารอบทะเลสาบ ซึ่งประกอบด้วย ทะเลสาบ ทะเลหลวง (ตอนล่าง ตอนกลาง และตอนบน) และทะเลน้อย โดยปากทะเลสาบอยู่ต่อกับทะเล (อ่าวไทย) ทาให้น้าทะเลหนุนเข้า จึงทาการศึกษาความเค็มของน้าในทะเลสาบ ทะเลหลวง และทะเลน้อย โดยวิเคราะห์คุณภาพน้า ติดต่อกันมาเป็นระยะเวลา 14 ปี (พ.ศ. 2521-2534) พบว่าน้ามีความเ...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Format: | Technical report |
Language: | th_TH |
Published: |
กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์สานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15279 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-15279 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-152792021-05-17T11:24:40Z การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2534 ระเบียบ, มิลินทานุช ศิริวัฒน์, สันติเมธวิรุฬ เจียมจิตร, ขวัญแก้ว คุณภาพสิ่งแวดล้อม การศึกษาคุณภาพน้ารอบทะเลสาบ ซึ่งประกอบด้วย ทะเลสาบ ทะเลหลวง (ตอนล่าง ตอนกลาง และตอนบน) และทะเลน้อย โดยปากทะเลสาบอยู่ต่อกับทะเล (อ่าวไทย) ทาให้น้าทะเลหนุนเข้า จึงทาการศึกษาความเค็มของน้าในทะเลสาบ ทะเลหลวง และทะเลน้อย โดยวิเคราะห์คุณภาพน้า ติดต่อกันมาเป็นระยะเวลา 14 ปี (พ.ศ. 2521-2534) พบว่าน้ามีความเค็มเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ขึ้นกับการหนุนของน้าทะเล และปริมาณน้าฝน พ.ศ. 2521-2523 มีความเค็มสูง พ.ศ. 2524-2532 ความเค็มลดลง และสูงมากขึ้น พ.ศ. 2533-2534 ตลอดปี พบว่าเดือนพฤศจิกายน-มกราคม มีความเค็มต่าและขึ้นสูงสุด เดือนสิงหาคม-ตุลาคม ซึ่งแล้วแต่ปริมาณฝน ที่ตกลงมา โดยเฉลี่ยทั้ง 14 ปี ทะเลสาบสงขลามีความเค็มสูงมาก EC เฉลี่ย 30675 Micromhos/cm ทะเลหลวงตอนล่าง น้าเค็ม EC เฉลี่ย 16034 Micromhos/cm ทะเลหลวงตอนกลาง น้ากร่อย EC 7207 Micromhos/cm ไม่สามารถใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูก และอุปโภคบริโภคได้ ทะเลหลวงตอนบน น้ากร่อยเล็กน้อย EC เฉลี่ย 1760 Micromhos/cm พอที่จะใช้สาหรับปลูกพืชที่ทนความเค็มได้บ้าง แต่ต้องมีการระบายน้าและล้างดินอยู่เสมอ ส่วนในทะเลน้อย น้าจืด EC 462 Micromhos/cm ใช้สาหรับปลูกพืชได้ทุกชนิด และอุปโภคบริโภคได้ โดยเฉลี่ย Ionic composition ประกอบการด้วย Divalent cations (Ca++ + Mg++) 23.45% ของ Total Cations (meq/l) และ Monovalent cation (Na+) 76.55% ของ Total Cations alkalinity (CO3 + HCO3) 2.28% ของ Total anions (meq/l) Chloride 88.10% ของ Total anions (mg/l) และ Sulphate 9.62% ของ Total anions (meq/l) จากทะเลสาบถึงทะเลน้อย มี Ion Content อยู่ระหว่าง 419.68-4.12 (meq/l) (Cations equivalent) 2015-09-21T05:32:51Z 2021-05-17T11:24:40Z 2015-09-21T05:32:51Z 2021-05-17T11:24:40Z 2534 Technical report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15279 th_TH application/pdf กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์สานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
คุณภาพสิ่งแวดล้อม |
spellingShingle |
คุณภาพสิ่งแวดล้อม ระเบียบ, มิลินทานุช ศิริวัฒน์, สันติเมธวิรุฬ เจียมจิตร, ขวัญแก้ว การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2534 |
description |
การศึกษาคุณภาพน้ารอบทะเลสาบ ซึ่งประกอบด้วย ทะเลสาบ ทะเลหลวง (ตอนล่าง ตอนกลาง และตอนบน) และทะเลน้อย โดยปากทะเลสาบอยู่ต่อกับทะเล (อ่าวไทย) ทาให้น้าทะเลหนุนเข้า จึงทาการศึกษาความเค็มของน้าในทะเลสาบ ทะเลหลวง และทะเลน้อย โดยวิเคราะห์คุณภาพน้า ติดต่อกันมาเป็นระยะเวลา 14 ปี (พ.ศ. 2521-2534) พบว่าน้ามีความเค็มเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ขึ้นกับการหนุนของน้าทะเล และปริมาณน้าฝน
พ.ศ. 2521-2523 มีความเค็มสูง พ.ศ. 2524-2532 ความเค็มลดลง และสูงมากขึ้น พ.ศ. 2533-2534 ตลอดปี
พบว่าเดือนพฤศจิกายน-มกราคม มีความเค็มต่าและขึ้นสูงสุด เดือนสิงหาคม-ตุลาคม ซึ่งแล้วแต่ปริมาณฝน
ที่ตกลงมา
โดยเฉลี่ยทั้ง 14 ปี ทะเลสาบสงขลามีความเค็มสูงมาก EC เฉลี่ย 30675 Micromhos/cm ทะเลหลวงตอนล่าง
น้าเค็ม EC เฉลี่ย 16034 Micromhos/cm ทะเลหลวงตอนกลาง น้ากร่อย EC 7207 Micromhos/cm ไม่สามารถใช้ประโยชน์ในการเพาะปลูก และอุปโภคบริโภคได้ ทะเลหลวงตอนบน น้ากร่อยเล็กน้อย EC เฉลี่ย 1760 Micromhos/cm พอที่จะใช้สาหรับปลูกพืชที่ทนความเค็มได้บ้าง แต่ต้องมีการระบายน้าและล้างดินอยู่เสมอ ส่วนในทะเลน้อย
น้าจืด EC 462 Micromhos/cm ใช้สาหรับปลูกพืชได้ทุกชนิด และอุปโภคบริโภคได้
โดยเฉลี่ย Ionic composition ประกอบการด้วย Divalent cations (Ca++ + Mg++) 23.45% ของ Total Cations (meq/l) และ Monovalent cation (Na+) 76.55% ของ Total Cations alkalinity (CO3 + HCO3) 2.28% ของ Total anions (meq/l) Chloride 88.10% ของ Total anions (mg/l) และ Sulphate 9.62% ของ Total anions (meq/l)
จากทะเลสาบถึงทะเลน้อย มี Ion Content อยู่ระหว่าง 419.68-4.12 (meq/l) (Cations equivalent) |
format |
Technical report |
author |
ระเบียบ, มิลินทานุช ศิริวัฒน์, สันติเมธวิรุฬ เจียมจิตร, ขวัญแก้ว |
author_facet |
ระเบียบ, มิลินทานุช ศิริวัฒน์, สันติเมธวิรุฬ เจียมจิตร, ขวัญแก้ว |
author_sort |
ระเบียบ, มิลินทานุช |
title |
การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2534 |
title_short |
การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2534 |
title_full |
การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2534 |
title_fullStr |
การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2534 |
title_full_unstemmed |
การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2534 |
title_sort |
การวิเคราะห์วิจัยคุณภาพน้ำรอบทะเลสาบสงขลา พ.ศ. 2521-พ.ศ. 2534 |
publisher |
กลุ่มวิจัยและพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์สานักวิจัยและพัฒนา กรมชลประทาน |
publishDate |
2015 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15279 |
_version_ |
1703979026623758336 |