6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงเกษตรฯ ที่สอดคล้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่ โดยชู 3 หัวใจสำคัญสู่การเป็นเกษตรสีเขียว คือ พัฒนาพื้นที่ พัฒนา...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | Technical Report |
Language: | th_TH |
Published: |
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15550 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-15550 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-155502021-05-17T11:33:34Z 6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ กรมพัฒนาที่ดิน, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงเกษตรฯ ที่สอดคล้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่ โดยชู 3 หัวใจสำคัญสู่การเป็นเกษตรสีเขียว คือ พัฒนาพื้นที่ พัฒนาสินค้า และพัฒนาคนอย่างบูรณาการครบทุกภาคส่วนและมีการคัดเลือกพื้นที่เป้าหมายจากจังหวัดที่มีศักยภาพและมีความโดดเด่นในการผลิตสินค้าเกษตรเป็นที่ยอมรับในวงกว้าง รวม 6 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ หนองคาย ศรีสะเกษ ราชบุรี จันทบุรี และพัทลุง โดยเป็นตัวแทนของจังหวัดต้นแบบในแต่ละภาคของประเทศ เพื่อผลักดันให้เป็นเมืองเกษตรสีเขียว และพัฒนาเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงเกษตร สาระสำคัญของ 6 จังหวัดต้นแบบ ร่วมกันกำหนดพื้นที่ที่จะพัฒนาให้เป็นพื้นที่สีเขียว ประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนให้มีกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรที่ดี เหมาะสม (Good Agricultural Practice) ให้ปลอดภัยจากสารเคมีตกค้างในสินค้าเกษตร และใช้เทคโนโลยีสะอาดในการผลิตสู่เศรษฐกิจการเกษตรสีเขียว (Green and Cool Agricultural Economy) หัวใจสำคัญของการพัฒนาเมืองเกษตรสีเขียว คือ 1. พัฒนาพื้นที่ให้เป็นพื้นที่ปลอดภัย ปราศจากมลพิษรบกวน มีการจัดการของเสียอย่างเป็นระบบ 2. พัฒนาตัวสินค้าให้เป็นสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐานด้านความปลอดภัย ไม่มีสารพิษตกค้าง มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิต 3. พัฒนาคนให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายสินค้าที่มีคุณภาพ สามารถทำการผลิต และอาศัยอยู่ในพื้นที่ได้อย่างยั่งยืน “สิ่งสำคัญในการดำเนินการของแต่ละหน่วยงาน คือ การส่งเสริม สนับสนุน การให้คำแนะนำ เพื่อพัฒนากระบวนการในการทำเกษตรกรรมให้มีความปลอดภัย มีคุณภาพได้มาตรฐาน และเกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น” “สิ่งสำคัญในการดำเนินการของแต่ละหน่วยงาน คือ การส่งเสริม สนับสนุน การให้คำแนะนำ เพื่อพัฒนากระบวนการในการทำเกษตรกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตลอดห่วงโซ่การผลิตและการบริโภค และมีความปลอดภัย มีคุณภาพได้มาตรฐาน เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น” 2015-10-07T07:24:21Z 2021-05-17T11:33:33Z 2015-10-07T07:24:21Z 2021-05-17T11:33:33Z 2557 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15550 th_TH application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf application/pdf กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ |
spellingShingle |
การลดลงของทรัพยากรชีวภาพและความหลากหลายทางชีวภาพ กรมพัฒนาที่ดิน, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ |
description |
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้กำหนดให้โครงการเมืองเกษตรสีเขียว (Green Agriculture City) เป็นโครงการสำคัญ (Flagship Project) ของกระทรวงเกษตรฯ ที่สอดคล้องกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ประเทศ เพื่อสร้างความเข้าใจและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในแต่ละพื้นที่ โดยชู 3 หัวใจสำคัญสู่การเป็นเกษตรสีเขียว คือ พัฒนาพื้นที่ พัฒนาสินค้า และพัฒนาคนอย่างบูรณาการครบทุกภาคส่วนและมีการคัดเลือกพื้นที่เป้าหมายจากจังหวัดที่มีศักยภาพและมีความโดดเด่นในการผลิตสินค้าเกษตรเป็นที่ยอมรับในวงกว้าง รวม 6 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ หนองคาย ศรีสะเกษ ราชบุรี จันทบุรี และพัทลุง โดยเป็นตัวแทนของจังหวัดต้นแบบในแต่ละภาคของประเทศ เพื่อผลักดันให้เป็นเมืองเกษตรสีเขียว และพัฒนาเป็นเมืองท่องเที่ยวเชิงเกษตร สาระสำคัญของ 6 จังหวัดต้นแบบ ร่วมกันกำหนดพื้นที่ที่จะพัฒนาให้เป็นพื้นที่สีเขียว ประสานความร่วมมือจากทุกภาคส่วนให้มีกระบวนการผลิตสินค้าเกษตรที่ดี เหมาะสม (Good Agricultural Practice) ให้ปลอดภัยจากสารเคมีตกค้างในสินค้าเกษตร และใช้เทคโนโลยีสะอาดในการผลิตสู่เศรษฐกิจการเกษตรสีเขียว (Green and Cool Agricultural Economy)
หัวใจสำคัญของการพัฒนาเมืองเกษตรสีเขียว คือ 1. พัฒนาพื้นที่ให้เป็นพื้นที่ปลอดภัย ปราศจากมลพิษรบกวน มีการจัดการของเสียอย่างเป็นระบบ 2. พัฒนาตัวสินค้าให้เป็นสินค้าที่มีคุณภาพได้มาตรฐานด้านความปลอดภัย ไม่มีสารพิษตกค้าง มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นมาประยุกต์ใช้ในกระบวนการผลิต 3. พัฒนาคนให้มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขายสินค้าที่มีคุณภาพ สามารถทำการผลิต และอาศัยอยู่ในพื้นที่ได้อย่างยั่งยืน
“สิ่งสำคัญในการดำเนินการของแต่ละหน่วยงาน คือ การส่งเสริม สนับสนุน การให้คำแนะนำ เพื่อพัฒนากระบวนการในการทำเกษตรกรรมให้มีความปลอดภัย มีคุณภาพได้มาตรฐาน และเกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น”
“สิ่งสำคัญในการดำเนินการของแต่ละหน่วยงาน คือ การส่งเสริม สนับสนุน การให้คำแนะนำ เพื่อพัฒนากระบวนการในการทำเกษตรกรรมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมตลอดห่วงโซ่การผลิตและการบริโภค และมีความปลอดภัย มีคุณภาพได้มาตรฐาน เกษตรกรมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น” |
format |
Technical Report |
author |
กรมพัฒนาที่ดิน, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ |
author_facet |
กรมพัฒนาที่ดิน, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ |
author_sort |
กรมพัฒนาที่ดิน, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ |
title |
6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ |
title_short |
6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ |
title_full |
6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ |
title_fullStr |
6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ |
title_full_unstemmed |
6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ |
title_sort |
6 เมืองเกษตรสีเขียวต้นแบบ |
publisher |
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ |
publishDate |
2015 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15550 |
_version_ |
1703979377775083520 |