สำรวจและวิเคราะห์ระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา

การสารวจระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา เพื่อศึกษาระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืน รูปแบบของการทาการเกษตร และการปรับเปลี่ยนการเกษตรในช่วงที่ผ่านมา 5 ปี ภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา เกษตรกรทั้งหมดที่ทาการสารวจ จานวน 142 คน แบ่งเป็นเพศชาย 56...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: บุญพา, ชูผอม, ศรินณา, ชูธรรมธัช
Format: Other
Language:th_TH
Published: สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร 2016
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15569
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15569
record_format dspace
spelling th-psu.2016-155692021-05-17T11:34:19Z สำรวจและวิเคราะห์ระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา บุญพา, ชูผอม ศรินณา, ชูธรรมธัช ความไม่มั่นคงทางอาหาร การสารวจระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา เพื่อศึกษาระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืน รูปแบบของการทาการเกษตร และการปรับเปลี่ยนการเกษตรในช่วงที่ผ่านมา 5 ปี ภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา เกษตรกรทั้งหมดที่ทาการสารวจ จานวน 142 คน แบ่งเป็นเพศชาย 56 คน คิดเป็น 39.44 เปอร์เซ็นต์ เพศหญิง 86 คน คิดเป็น 60.56 เปอร์เซ็นต์ อายุเกษตรกรเฉลี่ย 54 ปี เกษตรกรส่วนใหญ่มีการศึกษาอยู่ในระดับ ป.1-ป.6 จานวน 102 คน คิดเป็น 71.83 เปอร์เซ็นต์ มีประสบการณ์ในการประกอบอาชีพการเกษตรมากกว่า 10 ปี จานวน 133 คน คิดเป็น 93.66 เปอร์เซ็นต์ จากเกษตรกรที่ทาการสารวจทั้งหมดพบว่า มีพื้นที่ถือครองเฉลี่ย 17.55 ไร่ มีรายได้ต่อครัวเรือนเฉลี่ย 155,244 บาทต่อปี รูปแบบการทาการเกษตรของเกษตรกรจังหวัดสงขลา มี 3 รูปแบบ คือ ปลูกพืชอย่างเดียว ปลูกพืชร่วมกับการเลี้ยงสัตว์ และปลูกพืชร่วมกับการเลี้ยงสัตว์และประมง เกษตรกรมีรูปแบบการปลูกพืชร่วมกับการเลี้ยงสัตว์มากที่สุด 9 อาเภอ ได้แก่ สะบ้าย้อย จะนะ รัตภูมิ นาทวี ระโนด กระแสสินธุ์ ควนเนียง บางกล่า และ หาดใหญ่ เกษตรกรมีพื้นที่ถือครองระหว่าง 13.45 - 22.79 ไร่ มีรายได้ต่อครัวเรือนอยู่ในช่วง 79,000-217,625 บาทต่อปี รองลงมาคือรูปแบบปลูกพืชร่วมกับการเลี้ยงสัตว์และประมง จานวน 4 อาเภอ ได้แก่ เทพา สทิงพระ นาหม่อม และคลองหอยโข่ง เกษตรกรมีพื้นที่ถือครองระหว่าง 9.83-18.23 ไร่ มีรายได้ต่อครัวเรือนอยู่ในช่วง 91,500 - 251,800 บาทต่อปี และรูปแบบที่ 3 คือ ปลูกพืชอย่างเดียว มี 1 อาเภอ ได้แก่ สิงนคร เกษตรกรมีพื้นที่เฉลี่ย 15.44 ไร่ มีรายได้ต่อครัวเรือนเฉลี่ย 212,267 บาทต่อปี การเปลี่ยนแปลงระบบการปลูกพืชของเกษตรกร ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่จากนาข้าวเป็นยางพารา ได้แก่ อาเภอสะบ้าย้อย เทพา จะนะ รัตภูมิ นาทวี กระแสสินธุ์ ควนเนียง บางกล่า นาหม่อม และหาดใหญ่ เกษตรกรมีการปรับ เปลี่ยนพื้นที่นาข้าวเป็นปาล์มน้ามัน ได้แก่ อาเภอเทพา กระแสสินธุ์ และสิงหนคร เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่นาข้าวเป็นไร่นาสวนผสม ได้แก่ อาเภอรัตภูมิ จะนะ และ สะบ้าย้อย 2016-02-10T07:01:35Z 2021-05-17T11:34:19Z 2016-02-10T07:01:35Z 2021-05-17T11:34:19Z 2559 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15569 th_TH application/pdf สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ความไม่มั่นคงทางอาหาร
spellingShingle ความไม่มั่นคงทางอาหาร
บุญพา, ชูผอม
ศรินณา, ชูธรรมธัช
สำรวจและวิเคราะห์ระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา
description การสารวจระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา เพื่อศึกษาระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืน รูปแบบของการทาการเกษตร และการปรับเปลี่ยนการเกษตรในช่วงที่ผ่านมา 5 ปี ภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา เกษตรกรทั้งหมดที่ทาการสารวจ จานวน 142 คน แบ่งเป็นเพศชาย 56 คน คิดเป็น 39.44 เปอร์เซ็นต์ เพศหญิง 86 คน คิดเป็น 60.56 เปอร์เซ็นต์ อายุเกษตรกรเฉลี่ย 54 ปี เกษตรกรส่วนใหญ่มีการศึกษาอยู่ในระดับ ป.1-ป.6 จานวน 102 คน คิดเป็น 71.83 เปอร์เซ็นต์ มีประสบการณ์ในการประกอบอาชีพการเกษตรมากกว่า 10 ปี จานวน 133 คน คิดเป็น 93.66 เปอร์เซ็นต์ จากเกษตรกรที่ทาการสารวจทั้งหมดพบว่า มีพื้นที่ถือครองเฉลี่ย 17.55 ไร่ มีรายได้ต่อครัวเรือนเฉลี่ย 155,244 บาทต่อปี รูปแบบการทาการเกษตรของเกษตรกรจังหวัดสงขลา มี 3 รูปแบบ คือ ปลูกพืชอย่างเดียว ปลูกพืชร่วมกับการเลี้ยงสัตว์ และปลูกพืชร่วมกับการเลี้ยงสัตว์และประมง เกษตรกรมีรูปแบบการปลูกพืชร่วมกับการเลี้ยงสัตว์มากที่สุด 9 อาเภอ ได้แก่ สะบ้าย้อย จะนะ รัตภูมิ นาทวี ระโนด กระแสสินธุ์ ควนเนียง บางกล่า และ หาดใหญ่ เกษตรกรมีพื้นที่ถือครองระหว่าง 13.45 - 22.79 ไร่ มีรายได้ต่อครัวเรือนอยู่ในช่วง 79,000-217,625 บาทต่อปี รองลงมาคือรูปแบบปลูกพืชร่วมกับการเลี้ยงสัตว์และประมง จานวน 4 อาเภอ ได้แก่ เทพา สทิงพระ นาหม่อม และคลองหอยโข่ง เกษตรกรมีพื้นที่ถือครองระหว่าง 9.83-18.23 ไร่ มีรายได้ต่อครัวเรือนอยู่ในช่วง 91,500 - 251,800 บาทต่อปี และรูปแบบที่ 3 คือ ปลูกพืชอย่างเดียว มี 1 อาเภอ ได้แก่ สิงนคร เกษตรกรมีพื้นที่เฉลี่ย 15.44 ไร่ มีรายได้ต่อครัวเรือนเฉลี่ย 212,267 บาทต่อปี การเปลี่ยนแปลงระบบการปลูกพืชของเกษตรกร ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่จากนาข้าวเป็นยางพารา ได้แก่ อาเภอสะบ้าย้อย เทพา จะนะ รัตภูมิ นาทวี กระแสสินธุ์ ควนเนียง บางกล่า นาหม่อม และหาดใหญ่ เกษตรกรมีการปรับ เปลี่ยนพื้นที่นาข้าวเป็นปาล์มน้ามัน ได้แก่ อาเภอเทพา กระแสสินธุ์ และสิงหนคร เกษตรกรมีการปรับเปลี่ยนพื้นที่นาข้าวเป็นไร่นาสวนผสม ได้แก่ อาเภอรัตภูมิ จะนะ และ สะบ้าย้อย
format Other
author บุญพา, ชูผอม
ศรินณา, ชูธรรมธัช
author_facet บุญพา, ชูผอม
ศรินณา, ชูธรรมธัช
author_sort บุญพา, ชูผอม
title สำรวจและวิเคราะห์ระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา
title_short สำรวจและวิเคราะห์ระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา
title_full สำรวจและวิเคราะห์ระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา
title_fullStr สำรวจและวิเคราะห์ระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา
title_full_unstemmed สำรวจและวิเคราะห์ระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา
title_sort สำรวจและวิเคราะห์ระบบการผลิตพืชอย่างยั่งยืนภายใต้ระบบเกษตรตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงในจังหวัดสงขลา
publisher สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร
publishDate 2016
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15569
_version_ 1703979451612659712