การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ผลผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา

การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้เทคโนโลยีการผลิตลองกองที่มีคุณภาพ ดำเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2550 สิ้นสุด กันยายน 2552 ประกอบด้วย 2 กรรมวิธี คือ วิธีแนะนำ(การผลิตลองกองตามเทคโนโลยีที่คัดเลือกแล้ว) และวิธีเกษตรกร (การผลิตแบบเดิม...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ลักษมี, สุภัทรา, สุพร, ฆังคมณี, ศรินณา, ชูธรรมธัช, สมปอง, นุกูลรัตน์, อาริยา, จูดคง, อภิญญา, สุราวุธ, มนต์สรวง, เรืองขนาบ, ระวี, เจียรวิภา, อุดร, เจริญแสง
Format: Technical Report
Language:th_TH
Published: สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8 2015
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15572
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15572
record_format dspace
spelling th-psu.2016-155722021-05-17T11:34:23Z การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ผลผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา ลักษมี, สุภัทรา สุพร, ฆังคมณี ศรินณา, ชูธรรมธัช สมปอง, นุกูลรัตน์ อาริยา, จูดคง อภิญญา, สุราวุธ มนต์สรวง, เรืองขนาบ ระวี, เจียรวิภา อุดร, เจริญแสง ความไม่มั่นคงทางอาหาร การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้เทคโนโลยีการผลิตลองกองที่มีคุณภาพ ดำเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2550 สิ้นสุด กันยายน 2552 ประกอบด้วย 2 กรรมวิธี คือ วิธีแนะนำ(การผลิตลองกองตามเทคโนโลยีที่คัดเลือกแล้ว) และวิธีเกษตรกร (การผลิตแบบเดิมของเกษตรกร) จากการเปรียบเทียบการทดสอบเทคโนโลยีการผลิตลองกองให้มีคุณภาพ พบว่า การจัดการสวนตามวิธีแนะนำ ได้ผลผลิตเฉลี่ย 808.82 กิโลกรัมต่อไร่ และวิธีของเกษตรกร ได้ผลผลิตเฉลี่ย 479.37 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นปริมาณที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 68.73 โดยพบว่าการผลิตลองกองโดยใช้วิธีแนะนำ ทำให้มีผลผลิตเกรด A มากที่สุดคือ 58.23 % ซึ่งสูงกว่าวิธีเกษตรกร ประมาณ 16 % รองลงมาคือ เกรด B ให้ผลผลิต 23.70 % และมีปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้สูงกว่าวิธีของเกษตรกร เมื่อวิเคราะห์ต้นทุน รายได้ และผลตอบแทน พบว่า รายได้เฉลี่ยตามวิธีแนะนำ มีรายได้ 17,756.40 บาทต่อไร่ และรายได้เฉลี่ยตามวิธีของเกษตรกร 10,031.85 บาทต่อไร่ โดยเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น 7,724.55 บาทต่อไร, คิดเป็นรายได้ที่เพิ่มขึ้น 77.00 เปอร์เซ็นต์ สำหรับต้นทุนการผลิตตามวิธีแนะนำ มีต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 8,770 บาทต่อไร่ และตามวิธีของเกษตรกร มีต้นทุนการผลิต 5,522 บาทต่อไร่ ซึ่งส่งผลให้มีผลตอบแทนสุทธิ 8,986.4 บาท/ไร่ (วิธีแนะนำ) และสำหรับวิธีเกษตรกรมีผลตอบแทนสุทธิ 4,509.85 บาท/ไร่ คิดเป็นผลตอบแทนที่ เพิ่มขึ้น 99.26 เปอร์เซ็นต์ 2015-09-25T06:04:18Z 2021-05-17T11:34:22Z 2015-09-25T06:04:18Z 2021-05-17T11:34:22Z 2552 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15572 th_TH application/pdf สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ความไม่มั่นคงทางอาหาร
spellingShingle ความไม่มั่นคงทางอาหาร
ลักษมี, สุภัทรา
สุพร, ฆังคมณี
ศรินณา, ชูธรรมธัช
สมปอง, นุกูลรัตน์
อาริยา, จูดคง
อภิญญา, สุราวุธ
มนต์สรวง, เรืองขนาบ
ระวี, เจียรวิภา
อุดร, เจริญแสง
การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ผลผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา
description การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อยกระดับมาตรฐานการผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา มีวัตถุประสงค์เพื่อให้ได้เทคโนโลยีการผลิตลองกองที่มีคุณภาพ ดำเนินการตั้งแต่เดือนตุลาคม 2550 สิ้นสุด กันยายน 2552 ประกอบด้วย 2 กรรมวิธี คือ วิธีแนะนำ(การผลิตลองกองตามเทคโนโลยีที่คัดเลือกแล้ว) และวิธีเกษตรกร (การผลิตแบบเดิมของเกษตรกร) จากการเปรียบเทียบการทดสอบเทคโนโลยีการผลิตลองกองให้มีคุณภาพ พบว่า การจัดการสวนตามวิธีแนะนำ ได้ผลผลิตเฉลี่ย 808.82 กิโลกรัมต่อไร่ และวิธีของเกษตรกร ได้ผลผลิตเฉลี่ย 479.37 กิโลกรัมต่อไร่ คิดเป็นปริมาณที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 68.73 โดยพบว่าการผลิตลองกองโดยใช้วิธีแนะนำ ทำให้มีผลผลิตเกรด A มากที่สุดคือ 58.23 % ซึ่งสูงกว่าวิธีเกษตรกร ประมาณ 16 % รองลงมาคือ เกรด B ให้ผลผลิต 23.70 % และมีปริมาณของแข็งที่ละลายน้ำได้สูงกว่าวิธีของเกษตรกร เมื่อวิเคราะห์ต้นทุน รายได้ และผลตอบแทน พบว่า รายได้เฉลี่ยตามวิธีแนะนำ มีรายได้ 17,756.40 บาทต่อไร่ และรายได้เฉลี่ยตามวิธีของเกษตรกร 10,031.85 บาทต่อไร่ โดยเกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้น 7,724.55 บาทต่อไร, คิดเป็นรายได้ที่เพิ่มขึ้น 77.00 เปอร์เซ็นต์ สำหรับต้นทุนการผลิตตามวิธีแนะนำ มีต้นทุนการผลิตเฉลี่ย 8,770 บาทต่อไร่ และตามวิธีของเกษตรกร มีต้นทุนการผลิต 5,522 บาทต่อไร่ ซึ่งส่งผลให้มีผลตอบแทนสุทธิ 8,986.4 บาท/ไร่ (วิธีแนะนำ) และสำหรับวิธีเกษตรกรมีผลตอบแทนสุทธิ 4,509.85 บาท/ไร่ คิดเป็นผลตอบแทนที่ เพิ่มขึ้น 99.26 เปอร์เซ็นต์
format Technical Report
author ลักษมี, สุภัทรา
สุพร, ฆังคมณี
ศรินณา, ชูธรรมธัช
สมปอง, นุกูลรัตน์
อาริยา, จูดคง
อภิญญา, สุราวุธ
มนต์สรวง, เรืองขนาบ
ระวี, เจียรวิภา
อุดร, เจริญแสง
author_facet ลักษมี, สุภัทรา
สุพร, ฆังคมณี
ศรินณา, ชูธรรมธัช
สมปอง, นุกูลรัตน์
อาริยา, จูดคง
อภิญญา, สุราวุธ
มนต์สรวง, เรืองขนาบ
ระวี, เจียรวิภา
อุดร, เจริญแสง
author_sort ลักษมี, สุภัทรา
title การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ผลผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา
title_short การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ผลผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา
title_full การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ผลผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา
title_fullStr การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ผลผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา
title_full_unstemmed การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ผลผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา
title_sort การทดสอบและพัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อยกระดับมาตรฐานคุณภาพ ผลผลิตลองกองในพื้นที่จังหวัดสงขลา
publisher สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8
publishDate 2015
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15572
_version_ 1703978902777495552