ศักยภาพการให้ผลผลิตของพันธุ์ข้าวโพดและข้าวฟ่างเพื่อเป็นแหล่งอาหารหยาบ ในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลา

ปลูกทดสอบศักยภาพการให้ผลผลิตต้นสดของข้าวโพดและข้างฟ่างเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ โดยการใช้พันธุ์ข้าวโพดจำนวน 4 พันธุ์ คือ พันธุ์แปซิฟิก 283 นครสวรรค์ 2 สุวรรณ 5 และสุวรรณ 4452 ข้าวฟ่างจำนวน 2 พันธุ์ คือ พันธุ์สุพรรณบุรี 1 และ UTIS 23585 ดำเนินการที่จังหวัดพัทลุง และสงขลา ในปี 2551-2552 เมื่อวิเคราะห์ค่า...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: ฉันทนา คงนคร, จิระ สุวรรณประเสริฐ, ฉลอง เกิดศรี, สะฝีหย๊ะ ราชนุช, สำราญ สะรุโณ, ศุกร์ เก็บไว้
Format: Technical Report
Language:th_TH
Published: รายงานการสัมมนาระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ระหว่างวันที่ 16-18 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมเจ.บี. อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 2015
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15591
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15591
record_format dspace
spelling th-psu.2016-155912022-06-28T07:47:01Z ศักยภาพการให้ผลผลิตของพันธุ์ข้าวโพดและข้าวฟ่างเพื่อเป็นแหล่งอาหารหยาบ ในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลา ฉันทนา คงนคร จิระ สุวรรณประเสริฐ ฉลอง เกิดศรี สะฝีหย๊ะ ราชนุช สำราญ สะรุโณ ศุกร์ เก็บไว้ ความไม่มั่นคงทางอาหาร ปลูกทดสอบศักยภาพการให้ผลผลิตต้นสดของข้าวโพดและข้างฟ่างเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ โดยการใช้พันธุ์ข้าวโพดจำนวน 4 พันธุ์ คือ พันธุ์แปซิฟิก 283 นครสวรรค์ 2 สุวรรณ 5 และสุวรรณ 4452 ข้าวฟ่างจำนวน 2 พันธุ์ คือ พันธุ์สุพรรณบุรี 1 และ UTIS 23585 ดำเนินการที่จังหวัดพัทลุง และสงขลา ในปี 2551-2552 เมื่อวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยรวมจาก 4 แปลงทดลอง พบว่า ข้าวโพดพันธุ์นครสวรรค์ 2 ให้ผลผลิตต้นสดเฉลี่ยสูงสุด 4,264กก./ไร่ โดยที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพัทลุง พันธุ์สุวรรณ 5 ให้ผลผลิตต้นสดสูงสุด 3,677 กก./ไร่ และในแปลงเกษตรกร อ.ศรีนครินทร์ พันธุ์แปซิฟิก 283 ให้ผลผลิตต้นสดสูงสุด 4,246 กก./ไร่ ส่วนที่จังหวัดสงขลา ในสภาพอาศัยน้ำฝน ข้าวโพดทุกพันธุ์มีศักยภาพในการให้ผลผลิตได้เท่าเทียมกัน ยกเว้นพันธุ์แปซิฟิก 283 ที่ให้ผลผลิตต่ำกว่า ส่วนการปลูกโดยมีการให้น้ำ พันธุ์นครสวรรค์ 2 ให้ผลผลิตต้นสดสูงสุด 5,645 กก./ไร่ สำหรับข้าวฟ่าง พบว่า ในปี 2551 ที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพัทลุง ซึ่งปลูกด้วยวิธีหว่านและโรยแถว พบว่า ข้าวฟ่างทั้งสองพันธุ์ให้ผลผลิตต้นสดไม่แตกต่างกันทางสถิติทั้งสองวิธีการปลูก โดยการปลูกด้วยวิธีโรยแถวพันธุ์ UTIS23585 มีผลผลิตต้นสดสูงกว่าพันธุ์สุพรรณบุรี 1 คือ 5,290 กก./ไร่ ส่วนการปลูกด้วยวิธีหว่านพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ให้ผลผลิตต้นสดสูงกว่าพันธุ์ UTIS 23585 คือ 3,876 กก./ไร่ ส่วนในแปลงเกษตรกร ต.ฝาละมี อ.ปากพะยูน พันธุ์สุพรรณบุรี 1 ให้ผลผลิตต้นสดสูงกว่าพันธุ์ UTIS 23585 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยมีผลผลิตต้นสด 4,622 กก./ไร่ ในปี 2552 ผลการทดสอบทั้งในแปลงเกษตรกร ต.ลำปำ จังหวัดพัทลุง และที่ ต.ฝาละมี อ.ปากพะยูนเพื่อเก็บเกี่ยวต้นสดพบว่า ข้าวฟ่างพันธุ์ UTIS 23585 ให้ผลผลิตต้นสดสูงกว่าพันธุ์สุพรรณบุรี 1 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยมีเป็นอาหารสัตว์ ในพื้นที่จังหวัดสงขลาและพัทลุง โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวฟ่างสามารถให้ผลผลิตได้สูงมาก ในขณะที่ข้าวโพดแม้จะให้ผลผลิตน้อยกว่าข้าวฟ่าง แต่ให้คุณค่าทางอาหารสูง เมื่อนำมาทำเป็นอาหารหมัก 2015-10-10T07:22:47Z 2021-05-17T11:34:46Z 2015-10-10T07:22:47Z 2021-05-17T11:34:46Z 2553 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15591 th_TH application/pdf รายงานการสัมมนาระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ระหว่างวันที่ 16-18 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมเจ.บี. อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ความไม่มั่นคงทางอาหาร
spellingShingle ความไม่มั่นคงทางอาหาร
ฉันทนา คงนคร
จิระ สุวรรณประเสริฐ
ฉลอง เกิดศรี
สะฝีหย๊ะ ราชนุช
สำราญ สะรุโณ
ศุกร์ เก็บไว้
ศักยภาพการให้ผลผลิตของพันธุ์ข้าวโพดและข้าวฟ่างเพื่อเป็นแหล่งอาหารหยาบ ในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลา
description ปลูกทดสอบศักยภาพการให้ผลผลิตต้นสดของข้าวโพดและข้างฟ่างเพื่อใช้เป็นอาหารสัตว์ โดยการใช้พันธุ์ข้าวโพดจำนวน 4 พันธุ์ คือ พันธุ์แปซิฟิก 283 นครสวรรค์ 2 สุวรรณ 5 และสุวรรณ 4452 ข้าวฟ่างจำนวน 2 พันธุ์ คือ พันธุ์สุพรรณบุรี 1 และ UTIS 23585 ดำเนินการที่จังหวัดพัทลุง และสงขลา ในปี 2551-2552 เมื่อวิเคราะห์ค่าเฉลี่ยรวมจาก 4 แปลงทดลอง พบว่า ข้าวโพดพันธุ์นครสวรรค์ 2 ให้ผลผลิตต้นสดเฉลี่ยสูงสุด 4,264กก./ไร่ โดยที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพัทลุง พันธุ์สุวรรณ 5 ให้ผลผลิตต้นสดสูงสุด 3,677 กก./ไร่ และในแปลงเกษตรกร อ.ศรีนครินทร์ พันธุ์แปซิฟิก 283 ให้ผลผลิตต้นสดสูงสุด 4,246 กก./ไร่ ส่วนที่จังหวัดสงขลา ในสภาพอาศัยน้ำฝน ข้าวโพดทุกพันธุ์มีศักยภาพในการให้ผลผลิตได้เท่าเทียมกัน ยกเว้นพันธุ์แปซิฟิก 283 ที่ให้ผลผลิตต่ำกว่า ส่วนการปลูกโดยมีการให้น้ำ พันธุ์นครสวรรค์ 2 ให้ผลผลิตต้นสดสูงสุด 5,645 กก./ไร่ สำหรับข้าวฟ่าง พบว่า ในปี 2551 ที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรพัทลุง ซึ่งปลูกด้วยวิธีหว่านและโรยแถว พบว่า ข้าวฟ่างทั้งสองพันธุ์ให้ผลผลิตต้นสดไม่แตกต่างกันทางสถิติทั้งสองวิธีการปลูก โดยการปลูกด้วยวิธีโรยแถวพันธุ์ UTIS23585 มีผลผลิตต้นสดสูงกว่าพันธุ์สุพรรณบุรี 1 คือ 5,290 กก./ไร่ ส่วนการปลูกด้วยวิธีหว่านพันธุ์สุพรรณบุรี 1 ให้ผลผลิตต้นสดสูงกว่าพันธุ์ UTIS 23585 คือ 3,876 กก./ไร่ ส่วนในแปลงเกษตรกร ต.ฝาละมี อ.ปากพะยูน พันธุ์สุพรรณบุรี 1 ให้ผลผลิตต้นสดสูงกว่าพันธุ์ UTIS 23585 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยมีผลผลิตต้นสด 4,622 กก./ไร่ ในปี 2552 ผลการทดสอบทั้งในแปลงเกษตรกร ต.ลำปำ จังหวัดพัทลุง และที่ ต.ฝาละมี อ.ปากพะยูนเพื่อเก็บเกี่ยวต้นสดพบว่า ข้าวฟ่างพันธุ์ UTIS 23585 ให้ผลผลิตต้นสดสูงกว่าพันธุ์สุพรรณบุรี 1 แต่ไม่แตกต่างกันทางสถิติ โดยมีเป็นอาหารสัตว์ ในพื้นที่จังหวัดสงขลาและพัทลุง โดยเฉพาะอย่างยิ่งข้าวฟ่างสามารถให้ผลผลิตได้สูงมาก ในขณะที่ข้าวโพดแม้จะให้ผลผลิตน้อยกว่าข้าวฟ่าง แต่ให้คุณค่าทางอาหารสูง เมื่อนำมาทำเป็นอาหารหมัก
format Technical Report
author ฉันทนา คงนคร
จิระ สุวรรณประเสริฐ
ฉลอง เกิดศรี
สะฝีหย๊ะ ราชนุช
สำราญ สะรุโณ
ศุกร์ เก็บไว้
author_facet ฉันทนา คงนคร
จิระ สุวรรณประเสริฐ
ฉลอง เกิดศรี
สะฝีหย๊ะ ราชนุช
สำราญ สะรุโณ
ศุกร์ เก็บไว้
author_sort ฉันทนา คงนคร
title ศักยภาพการให้ผลผลิตของพันธุ์ข้าวโพดและข้าวฟ่างเพื่อเป็นแหล่งอาหารหยาบ ในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลา
title_short ศักยภาพการให้ผลผลิตของพันธุ์ข้าวโพดและข้าวฟ่างเพื่อเป็นแหล่งอาหารหยาบ ในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลา
title_full ศักยภาพการให้ผลผลิตของพันธุ์ข้าวโพดและข้าวฟ่างเพื่อเป็นแหล่งอาหารหยาบ ในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลา
title_fullStr ศักยภาพการให้ผลผลิตของพันธุ์ข้าวโพดและข้าวฟ่างเพื่อเป็นแหล่งอาหารหยาบ ในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลา
title_full_unstemmed ศักยภาพการให้ผลผลิตของพันธุ์ข้าวโพดและข้าวฟ่างเพื่อเป็นแหล่งอาหารหยาบ ในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลา
title_sort ศักยภาพการให้ผลผลิตของพันธุ์ข้าวโพดและข้าวฟ่างเพื่อเป็นแหล่งอาหารหยาบ ในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลา
publisher รายงานการสัมมนาระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ระหว่างวันที่ 16-18 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมเจ.บี. อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
publishDate 2015
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15591
_version_ 1739851633401004032