การทดสอบศักยภาพการให้ผลผลิตของอ้อยอาหารสัตว์ 2 โคลนพันธุ์
ทำการปลูกทดสอบศักยภาพการให้ผลผลิตต้นสดของอ้อยอาหารสัตว์ 2 โคลนพันธุ์ คือ เบอร์ 1 (F166x G) กับเบอร์ 6 (Phil58-260 x K84-200) ในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลาในปี พ.ศ. 2551 และ 2552 พบว่าโคลนพันธุ์เบอร์ 6 ให้ผลผลิตได้สูงกว่าโคลนพันธุ์เบอร์ 1 เมื่อทำการเก็บเกี่ยวที่อายุ 3 เดือน 4 เดือน และ 6 เดือน โดยโค...
Saved in:
Main Authors: | , , |
---|---|
Format: | Technical Report |
Language: | th_TH |
Published: |
รายงานการสัมมนาระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ระหว่างวันที่ 16-18 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมเจ.บี. อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
2015
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15602 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
Summary: | ทำการปลูกทดสอบศักยภาพการให้ผลผลิตต้นสดของอ้อยอาหารสัตว์ 2 โคลนพันธุ์ คือ เบอร์ 1 (F166x G) กับเบอร์ 6 (Phil58-260 x K84-200) ในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลาในปี พ.ศ. 2551 และ 2552 พบว่าโคลนพันธุ์เบอร์ 6 ให้ผลผลิตได้สูงกว่าโคลนพันธุ์เบอร์ 1 เมื่อทำการเก็บเกี่ยวที่อายุ 3 เดือน 4 เดือน และ 6 เดือน โดยโคลนพันธุ์เบอร์ 1 ให้ผลผลิตเฉลี่ย 1,882 กก./ไร่/เดือนที่จังหวัดพัทลุง และ 1,443 กก./ไร่/เดือนที่จังหวัดสงขลา ในขณะที่โคลนพันธุ์เบอร์ 6 ให้ผลผลิตเฉลี่ย 2,054 กก./ไร่/เดือนที่จังหวัดพัทลุง และ 1,909 กก./ไร่/เดือน ที่จังหวัดสงขลา หรืออีกนัยหนึ่งคือการปลูกอ้อยอาหารสัตว์ในพื้นที่จังหวัดพัทลุงและสงขลาโดยอาศัยน้ำฝน สามารถให้ผลผลิตต้นสดได้ในช่วงตั้งแต่ 17.3 ตัน/ไร่/ปี ถึง 24.6 ตัน/ไร่/ปี โดยโคลนพันธุ์เบอร์ 6 ซึ่งมีลักษณะลำต้นขนาดเล็กและมีใบมาก มีศักยภาพในการให้ผลผลิตได้สูงกว่าโคลนพันธุ์เบอร์ 1 |
---|