ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง60

ข้อมูลทั่วไป : ประวัติ : ปี พ.ศ.2520-2529 สถานีทดลองข้าวควนกุฎ ผสมพันธุ์ข้าวโดยใช้พันธุ์ กข 13 เป็นพันธุ์แม่ผสมกับพันธุ์ กข 7 เป็นพันธุ์พ่อ ปลูกคัดเลือกแบบรวมหมู่ ที่ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุงปลูกแบบสืบตระกูล ถึงชั่วที่ 5 และคัดเลือกตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ของกรมวิชาการเกษตรพบว่าเป็นพันธุ์ที่...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Author: กรมวิชาการเกษตร
Format: Article
Language:th_TH
Published: กรมวิชาการเกษตร 2016
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15605
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15605
record_format dspace
spelling th-psu.2016-156052021-05-17T11:35:07Z ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง60 กรมวิชาการเกษตร ความไม่มั่นคงทางอาหาร ข้อมูลทั่วไป : ประวัติ : ปี พ.ศ.2520-2529 สถานีทดลองข้าวควนกุฎ ผสมพันธุ์ข้าวโดยใช้พันธุ์ กข 13 เป็นพันธุ์แม่ผสมกับพันธุ์ กข 7 เป็นพันธุ์พ่อ ปลูกคัดเลือกแบบรวมหมู่ ที่ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุงปลูกแบบสืบตระกูล ถึงชั่วที่ 5 และคัดเลือกตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ของกรมวิชาการเกษตรพบว่าเป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตคุณภาพดี ลักษณะทั่วไป : ข้าวนาสวน ข้าวไวต่อช่วงแสง อายุปานกลางประมาณ 150-160 วัน ออกดอก 6 ธันวาคม ถึง 13 กุมภาพันธ์ ต้นกล้าแข็งแรง แตกกอประมาณ 10 ต้นต่อกอ ใบธงค่อนข้างกว้างและตั้งฉากกับลำต้น มีรวงแน่นระแง้ถี่ เมล็ดมาก รวงยาวและใหญ่ คอรวงยาว โผล่พ้นกาบใบธงประมาณ 10 เซนติเมตร ต้นค่อนข้างแข็งล้มยาก ต้นสูงประมาณ 156 เซนติเมตร การร่วงของเมล็ดปานกลาง เมล็ดลีบน้อยประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ น้ำหนักเมล็ด 100 เมล็ด 3.03 กรัม น้ำหนักข้าวเปลือกต่อถัง 11.98 กิโลกรัม ขนาดเมล็ดข้าวเปลือกยาว 9.75 มิลลิเมตร กว้าง 2.70 มิลลิเมตร หนา 2.01 มิลลิเมตร ปริมาณอมัยโลส 27-29.1 เปอร์เซ็นต์ อัตราการยืดตัวของข้าวสุก 1.91 เท่า ข้าวสุกไม่มีกลิ่นหอมข้าวสุกค่อนข้างแข็งและร่วน ลักษณะเด่น : ผลผลิตเฉลี่ย 457 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นข้าวที่มีระบบรากแข็งแรง ตั้งตัวได้เร็ว คอรวงยาวเหมาะที่จะเก็บเกี่ยวด้วยแกระ จำนวนเมล็ดต่อรวงมาก คุณภาพข้าวสุกมีลักษณะใกล้เคียงกับพันธุ์ ช่อจังหวัด คุณภาพเมล็ดทางกายภาพดีกว่าพันธุ์ กข 13 มีเปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบเล็กน้อย เมล็ดมีน้ำหนักดี ทนแล้งได้ดีในระยะแตกกอให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์พื้นเมืองในสภาพนาน้ำฝนต้านทานต่อโรคขอบใบแห้ง พื้นที่แนะนำ : เหมาะสำหรับปลูกในฤดูนาปี และในสภาพแวดล้อมแปรปรวนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในท้องที่จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสตูล จังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา และจังหวัดปัตตานี ข้อควรระวัง : ไม่ต้านทานต่อโรคใบไหม้และโรคใบหงิก 2016-01-15T04:18:00Z 2021-05-17T11:35:07Z 2016-01-15T04:18:00Z 2021-05-17T11:35:07Z 2530 Article http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15605 th_TH application/vnd.openxmlformats-officedocument.wordprocessingml.document กรมวิชาการเกษตร
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ความไม่มั่นคงทางอาหาร
spellingShingle ความไม่มั่นคงทางอาหาร
กรมวิชาการเกษตร
ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง60
description ข้อมูลทั่วไป : ประวัติ : ปี พ.ศ.2520-2529 สถานีทดลองข้าวควนกุฎ ผสมพันธุ์ข้าวโดยใช้พันธุ์ กข 13 เป็นพันธุ์แม่ผสมกับพันธุ์ กข 7 เป็นพันธุ์พ่อ ปลูกคัดเลือกแบบรวมหมู่ ที่ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุงปลูกแบบสืบตระกูล ถึงชั่วที่ 5 และคัดเลือกตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ของกรมวิชาการเกษตรพบว่าเป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตคุณภาพดี ลักษณะทั่วไป : ข้าวนาสวน ข้าวไวต่อช่วงแสง อายุปานกลางประมาณ 150-160 วัน ออกดอก 6 ธันวาคม ถึง 13 กุมภาพันธ์ ต้นกล้าแข็งแรง แตกกอประมาณ 10 ต้นต่อกอ ใบธงค่อนข้างกว้างและตั้งฉากกับลำต้น มีรวงแน่นระแง้ถี่ เมล็ดมาก รวงยาวและใหญ่ คอรวงยาว โผล่พ้นกาบใบธงประมาณ 10 เซนติเมตร ต้นค่อนข้างแข็งล้มยาก ต้นสูงประมาณ 156 เซนติเมตร การร่วงของเมล็ดปานกลาง เมล็ดลีบน้อยประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ น้ำหนักเมล็ด 100 เมล็ด 3.03 กรัม น้ำหนักข้าวเปลือกต่อถัง 11.98 กิโลกรัม ขนาดเมล็ดข้าวเปลือกยาว 9.75 มิลลิเมตร กว้าง 2.70 มิลลิเมตร หนา 2.01 มิลลิเมตร ปริมาณอมัยโลส 27-29.1 เปอร์เซ็นต์ อัตราการยืดตัวของข้าวสุก 1.91 เท่า ข้าวสุกไม่มีกลิ่นหอมข้าวสุกค่อนข้างแข็งและร่วน ลักษณะเด่น : ผลผลิตเฉลี่ย 457 กิโลกรัมต่อไร่ เป็นข้าวที่มีระบบรากแข็งแรง ตั้งตัวได้เร็ว คอรวงยาวเหมาะที่จะเก็บเกี่ยวด้วยแกระ จำนวนเมล็ดต่อรวงมาก คุณภาพข้าวสุกมีลักษณะใกล้เคียงกับพันธุ์ ช่อจังหวัด คุณภาพเมล็ดทางกายภาพดีกว่าพันธุ์ กข 13 มีเปอร์เซ็นต์เมล็ดลีบเล็กน้อย เมล็ดมีน้ำหนักดี ทนแล้งได้ดีในระยะแตกกอให้ผลผลิตสูงกว่าพันธุ์พื้นเมืองในสภาพนาน้ำฝนต้านทานต่อโรคขอบใบแห้ง พื้นที่แนะนำ : เหมาะสำหรับปลูกในฤดูนาปี และในสภาพแวดล้อมแปรปรวนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในท้องที่จังหวัดนครศรีธรรมราช จังหวัดสตูล จังหวัดพัทลุง จังหวัดสงขลา และจังหวัดปัตตานี ข้อควรระวัง : ไม่ต้านทานต่อโรคใบไหม้และโรคใบหงิก
format Article
author กรมวิชาการเกษตร
author_facet กรมวิชาการเกษตร
author_sort กรมวิชาการเกษตร
title ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง60
title_short ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง60
title_full ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง60
title_fullStr ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง60
title_full_unstemmed ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง60
title_sort ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง60
publisher กรมวิชาการเกษตร
publishDate 2016
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15605
_version_ 1703979105316241408