การพัฒนาเกษตรกรต้นแบบการจัดระบบการปลูกพืชเพื่อนำไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดพัทลุง

การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างเกษตรกรต้นแบบด้านการผลิตพืชผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ในเขตนิเวศน์เกษตรต่างๆ ของพื้นที่จังหวัดพัทลุง 11 ต้นแบบ การวิจัยใช้กรอบแนวความคิดด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผสมผสานกับ แนวความคิดการดำรงชีพอย่างยั่งยืน การพัฒนาภูมิปัญญา และการพัฒนาเกษตรผสมผสาน ใช้กระบวนการขับเคลื่อนโด...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สำราญ, สะรุโณ, ปัทมา, พรหมสังคหะ, ไพเราะ, เทพทอง, สาริณีย์, จันทรัศมี, มานิตย์, แสงทอง, ไพโรจน์, สุวรรณจินดา, นลินี, จาริกภากร, บรรเทา, จันทร์พุ่ม, อุดร, เจริญแสง
Format: Technical Report
Language:th_TH
Published: สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8 2015
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15608
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15608
record_format dspace
spelling th-psu.2016-156082021-05-17T11:35:12Z การพัฒนาเกษตรกรต้นแบบการจัดระบบการปลูกพืชเพื่อนำไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดพัทลุง สำราญ, สะรุโณ ปัทมา, พรหมสังคหะ ไพเราะ, เทพทอง สาริณีย์, จันทรัศมี มานิตย์, แสงทอง ไพโรจน์, สุวรรณจินดา นลินี, จาริกภากร บรรเทา, จันทร์พุ่ม อุดร, เจริญแสง การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างเกษตรกรต้นแบบด้านการผลิตพืชผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ในเขตนิเวศน์เกษตรต่างๆ ของพื้นที่จังหวัดพัทลุง 11 ต้นแบบ การวิจัยใช้กรอบแนวความคิดด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผสมผสานกับ แนวความคิดการดำรงชีพอย่างยั่งยืน การพัฒนาภูมิปัญญา และการพัฒนาเกษตรผสมผสาน ใช้กระบวนการขับเคลื่อนโดยผสมผสานแนวความคิดการเคลื่อนไหวทางสังคม ได้แก่ เวทีวิจัยสัญจรครัวเรือนต้นแบบ กระบวนการวิจัยเชิงระบบ การวิจัยเชิงพื้นที่ ประชาพิจัย การสร้างวาทกรรม อัตลักษณ์ และจัดทำแปลงปลูกพืช ผลการดำเนินงานจากการสร้างวาทกรรมหลักในการเคลื่อนไหวเพื่อให้เกิดการเรียนรู้สู่การพึ่งตนเองของต้นแบบ 4 ด้าน คือ 1)การสร้างหัวใจพอเพียง พบว่า เกษตรกรต้นแบบให้ความสำคัญเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงด้านความพออยู่พอกิน การลดต้นทุน การทำให้เหลือขาย รายได้เมื่อหักรายจ่ายต้องไม่มีหนี้สิน ปลูกพืชแล้วเพื่อนบ้านพลอยได้ประโยชน์ และทำไปเรียนรู้ไป 2)การพัฒนาพืชผสมผสานพอเพียง 7 กลุ่ม พบว่าเกษตรกรปลูกพืชเฉลี่ย22.8 ชนิด/ครัวเรือน เป็นพืชรายได้ 3.2 ชนิด พืชอาหาร 9 ชนิด พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ 6.8 ชนิด พืชสมุนไพรกำจัดศัตรูพืช 1.5 ชนิด กลุ่มพืชที่มีการปลูกน้อยคือ พืชอาหารสัตว์ พืชอนุรักษ์ดินและน้ำ พืชใช้สอยและพืชอนุรักษ์พันธุ์กรรม 3)การพัฒนาภูมิปัญญาภิวัฒน์พอเพียง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาและพัฒนาความสามารถในการทำวิจัยด้วยตนเอง ประเด็นความรู้ที่เกษตรกรสนใจทำการทดลอง ได้แก่ การลดต้นทุนปุ๋ยเคมีและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินด้วยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในยางพารา การใช้สารทดแทนใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในพืชผัก การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน ข้าว ไม้ผล พืชไร่ สับปะรด พืชต่างระดับเพื่อเพิ่มรายได้และเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่ และการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีเป็นต้น 4)การดำรงชีพพอเพียง พบว่าเกษตรกรมีความสามารถในการดำรงชีพให้พอเพียงเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2550 โดยด้านที่เพิ่มขึ้นคือ ความมีภูมิคุ้มกันด้านทุนในการดำรงชีพ เพิ่มขึ้นจากระดับปานกลางเป็นระดับมาก ส่วนด้านอื่นๆคงที่ ได้แก่ ความพอประมาณคงที่อยู่ในระดับปานกลาง ความมีเหตุผลคงที่อยู่ในระดับมาก ภูมิคุ้มกันจากผลกระทบคงที่อยู่ในระดับปานกลาง และความพอเพียงรวมคงที่อยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพอเพียง มี 10 ตัวแปร คือ มีการเพิ่มทุนในการดำรงชีพโดยรวม มีความสามารถในการเป็นวิทยากร การมีคุณธรรมความเพียร มีต้นทุนมนุษย์ มีภูมิคุ้มกันจากบริบทความอ่อนแอ ไม่แน่นอน มีการเปิดรับข่าวสาร การให้เงินช่วยเหลือสังคม/สาธารณะ มีต้นทุนการเงิน มีต้นทุนกายภาพ และการมี ความสุขจากทุกๆด้าน ส่วนกระบวนการเคลื่อนไหวที่เกิดผลต่อการพัฒนาต้นแบบเด่นชัดคือการจัดเวทีวิจัยสัญจรที่บ้านเกษตรกรหมุนเวียนกันไปเดือนละ 1 ครั้ง ผลการจัดเวทีวิจัยทำให้เกิดแรงจูงใจและแรงผลักดันในการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และทำการปรับปรุงการผลิตพืช มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาการปลูกพืชแลกเปลี่ยนพันธุ์พืช มีการรื้อฟื้นวัฒนธรรมการใช้ชีวิตชุมชนชนบท การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือซึ่งกัน ร่วมการสร้างอัตลักษณ์ และอื่นๆ 2015-10-10T05:24:24Z 2021-05-17T11:35:11Z 2015-10-10T05:24:24Z 2021-05-17T11:35:11Z 2552 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15608 th_TH application/pdf สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
description การวิจัยและพัฒนาเพื่อสร้างเกษตรกรต้นแบบด้านการผลิตพืชผสมผสานตามแนวเศรษฐกิจพอเพียง ในเขตนิเวศน์เกษตรต่างๆ ของพื้นที่จังหวัดพัทลุง 11 ต้นแบบ การวิจัยใช้กรอบแนวความคิดด้านปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผสมผสานกับ แนวความคิดการดำรงชีพอย่างยั่งยืน การพัฒนาภูมิปัญญา และการพัฒนาเกษตรผสมผสาน ใช้กระบวนการขับเคลื่อนโดยผสมผสานแนวความคิดการเคลื่อนไหวทางสังคม ได้แก่ เวทีวิจัยสัญจรครัวเรือนต้นแบบ กระบวนการวิจัยเชิงระบบ การวิจัยเชิงพื้นที่ ประชาพิจัย การสร้างวาทกรรม อัตลักษณ์ และจัดทำแปลงปลูกพืช ผลการดำเนินงานจากการสร้างวาทกรรมหลักในการเคลื่อนไหวเพื่อให้เกิดการเรียนรู้สู่การพึ่งตนเองของต้นแบบ 4 ด้าน คือ 1)การสร้างหัวใจพอเพียง พบว่า เกษตรกรต้นแบบให้ความสำคัญเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงด้านความพออยู่พอกิน การลดต้นทุน การทำให้เหลือขาย รายได้เมื่อหักรายจ่ายต้องไม่มีหนี้สิน ปลูกพืชแล้วเพื่อนบ้านพลอยได้ประโยชน์ และทำไปเรียนรู้ไป 2)การพัฒนาพืชผสมผสานพอเพียง 7 กลุ่ม พบว่าเกษตรกรปลูกพืชเฉลี่ย22.8 ชนิด/ครัวเรือน เป็นพืชรายได้ 3.2 ชนิด พืชอาหาร 9 ชนิด พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ 6.8 ชนิด พืชสมุนไพรกำจัดศัตรูพืช 1.5 ชนิด กลุ่มพืชที่มีการปลูกน้อยคือ พืชอาหารสัตว์ พืชอนุรักษ์ดินและน้ำ พืชใช้สอยและพืชอนุรักษ์พันธุ์กรรม 3)การพัฒนาภูมิปัญญาภิวัฒน์พอเพียง มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาและพัฒนาความสามารถในการทำวิจัยด้วยตนเอง ประเด็นความรู้ที่เกษตรกรสนใจทำการทดลอง ได้แก่ การลดต้นทุนปุ๋ยเคมีและเพิ่มความอุดมสมบูรณ์ของดินด้วยการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในยางพารา การใช้สารทดแทนใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชในพืชผัก การเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุน ข้าว ไม้ผล พืชไร่ สับปะรด พืชต่างระดับเพื่อเพิ่มรายได้และเพิ่มการใช้ประโยชน์พื้นที่ และการใช้สารอินทรีย์ทดแทนสารเคมีเป็นต้น 4)การดำรงชีพพอเพียง พบว่าเกษตรกรมีความสามารถในการดำรงชีพให้พอเพียงเพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากปี 2550 โดยด้านที่เพิ่มขึ้นคือ ความมีภูมิคุ้มกันด้านทุนในการดำรงชีพ เพิ่มขึ้นจากระดับปานกลางเป็นระดับมาก ส่วนด้านอื่นๆคงที่ ได้แก่ ความพอประมาณคงที่อยู่ในระดับปานกลาง ความมีเหตุผลคงที่อยู่ในระดับมาก ภูมิคุ้มกันจากผลกระทบคงที่อยู่ในระดับปานกลาง และความพอเพียงรวมคงที่อยู่ในระดับปานกลาง ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความพอเพียง มี 10 ตัวแปร คือ มีการเพิ่มทุนในการดำรงชีพโดยรวม มีความสามารถในการเป็นวิทยากร การมีคุณธรรมความเพียร มีต้นทุนมนุษย์ มีภูมิคุ้มกันจากบริบทความอ่อนแอ ไม่แน่นอน มีการเปิดรับข่าวสาร การให้เงินช่วยเหลือสังคม/สาธารณะ มีต้นทุนการเงิน มีต้นทุนกายภาพ และการมี ความสุขจากทุกๆด้าน ส่วนกระบวนการเคลื่อนไหวที่เกิดผลต่อการพัฒนาต้นแบบเด่นชัดคือการจัดเวทีวิจัยสัญจรที่บ้านเกษตรกรหมุนเวียนกันไปเดือนละ 1 ครั้ง ผลการจัดเวทีวิจัยทำให้เกิดแรงจูงใจและแรงผลักดันในการเรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และทำการปรับปรุงการผลิตพืช มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภูมิปัญญาการปลูกพืชแลกเปลี่ยนพันธุ์พืช มีการรื้อฟื้นวัฒนธรรมการใช้ชีวิตชุมชนชนบท การเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือซึ่งกัน ร่วมการสร้างอัตลักษณ์ และอื่นๆ
format Technical Report
author สำราญ, สะรุโณ
ปัทมา, พรหมสังคหะ
ไพเราะ, เทพทอง
สาริณีย์, จันทรัศมี
มานิตย์, แสงทอง
ไพโรจน์, สุวรรณจินดา
นลินี, จาริกภากร
บรรเทา, จันทร์พุ่ม
อุดร, เจริญแสง
spellingShingle สำราญ, สะรุโณ
ปัทมา, พรหมสังคหะ
ไพเราะ, เทพทอง
สาริณีย์, จันทรัศมี
มานิตย์, แสงทอง
ไพโรจน์, สุวรรณจินดา
นลินี, จาริกภากร
บรรเทา, จันทร์พุ่ม
อุดร, เจริญแสง
การพัฒนาเกษตรกรต้นแบบการจัดระบบการปลูกพืชเพื่อนำไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดพัทลุง
author_facet สำราญ, สะรุโณ
ปัทมา, พรหมสังคหะ
ไพเราะ, เทพทอง
สาริณีย์, จันทรัศมี
มานิตย์, แสงทอง
ไพโรจน์, สุวรรณจินดา
นลินี, จาริกภากร
บรรเทา, จันทร์พุ่ม
อุดร, เจริญแสง
author_sort สำราญ, สะรุโณ
title การพัฒนาเกษตรกรต้นแบบการจัดระบบการปลูกพืชเพื่อนำไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดพัทลุง
title_short การพัฒนาเกษตรกรต้นแบบการจัดระบบการปลูกพืชเพื่อนำไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดพัทลุง
title_full การพัฒนาเกษตรกรต้นแบบการจัดระบบการปลูกพืชเพื่อนำไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดพัทลุง
title_fullStr การพัฒนาเกษตรกรต้นแบบการจัดระบบการปลูกพืชเพื่อนำไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดพัทลุง
title_full_unstemmed การพัฒนาเกษตรกรต้นแบบการจัดระบบการปลูกพืชเพื่อนำไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดพัทลุง
title_sort การพัฒนาเกษตรกรต้นแบบการจัดระบบการปลูกพืชเพื่อนำไปสู่เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดพัทลุง
publisher สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8
publishDate 2015
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15608
_version_ 1703979066583941120