การวิจัยและทดสอบการปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตพริกที่มีศักยภาพ และเพิ่มมูลค่าในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

พริก (chilli) เป็นผักชนิดหนึ่งที่มีศักยภาพสูงและมีความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจของประเทศเนื่องจากสามารถใช้เป็นส่วนประกอบในหลากหลายรูปแบบ ทั้งจากวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์แปรรูปในหลายวงการ แต่การปลูกพริกมักพบปัญหาโรคและแมลงศัตรูพริก รวมทั้งปัญหาเรื่องของสารพิษตกค้างในผลผลิต เพื่อแก้ปัญหาระยะยาว ได้ทำทดสอบการปรั...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: นันทิการ์, เสนแก้ว, เขมมิการ์, โขมพัตร, อภิญญา, สุราวุธ, สาวิตรี, เขมวงศ์, ศรินณา, ชูธรรมธัช, อุดร, เจริญแสง, นลินี, จาริกภากร, ไพโรจน์, สุวรรณจินดา
Format: Technical Report
Language:th_TH
Published: รายงานการสัมมนาระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ระหว่างวันที่ 16-18 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมเจ.บี. อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา 2015
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15613
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15613
record_format dspace
spelling th-psu.2016-156132021-05-17T11:35:27Z การวิจัยและทดสอบการปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตพริกที่มีศักยภาพ และเพิ่มมูลค่าในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง นันทิการ์, เสนแก้ว เขมมิการ์, โขมพัตร อภิญญา, สุราวุธ สาวิตรี, เขมวงศ์ ศรินณา, ชูธรรมธัช อุดร, เจริญแสง นลินี, จาริกภากร ไพโรจน์, สุวรรณจินดา ความไม่มั่นคงทางอาหาร พริก (chilli) เป็นผักชนิดหนึ่งที่มีศักยภาพสูงและมีความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจของประเทศเนื่องจากสามารถใช้เป็นส่วนประกอบในหลากหลายรูปแบบ ทั้งจากวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์แปรรูปในหลายวงการ แต่การปลูกพริกมักพบปัญหาโรคและแมลงศัตรูพริก รวมทั้งปัญหาเรื่องของสารพิษตกค้างในผลผลิต เพื่อแก้ปัญหาระยะยาว ได้ทำทดสอบการปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตพริกขี้หนูให้มีคุณภาพเพื่อการส่งออกและเพื่อการบริโภคในพื้นที่จังหวัดสงขลาและพัทลุง ในระหว่างปี 2551 – 2552 ทำการทดสอบปลูกพริกขี้หนู มี 2 กรรมวิธี คือ วิธีแนะนำ (การปลูกพริกตามคำแนะนำของ GAP พริก นำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่) และวิธีเกษตรกร (เป็นการปลูกพริกของเกษตรกรแต่ละรายปฏิบัติ) ผลการทดสอบ พบว่า การผลิตพริกในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ตามวิธีแนะนำให้ผลผลิตพริกสดสูงกว่าวิธีปฏิบัติตามวิธีเกษตรกร คือ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 1,244 และ 997 กิโลกรัม/ไร่ ตามลำดับ คิดเป็นปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น 24.8 เปอร์เซ็นต์ ทำให้มีรายได้เหนือต้นทุนผันแปรที่เป็นเงินสดเฉลี่ย 50,396 บาท/ไร่ และวิธีเกษตรกรเฉลี่ย 34,130 บาท/ไร่ โดยมีผลตอบแทนเพิ่มขึ้น 52.2 เปอร์เซ็นต์ ส่วนในพื้นที่จังหวัดสงขลา พบว่า การผลิตพริกตามวิธีแนะนำให้ผลผลิตพริกสดสูงกว่าวิธีปฏิบัติตามวิธีเกษตรกร คือ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 4,236 และ 3,132 กิโลกรัม/ไร่ ตามลำดับ คิดเป็นปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น 35.2 เปอร์เซ็นต์ ทำให้มีรายได้เหนือต้นทุนผันแปรที่เป็นเงินสดเฉลี่ย 49,084 บาท/ไร่ และวิธีเกษตรกรเฉลี่ย 33,682 บาท/ไร่ และการสุ่มตัวอย่างพริกเพื่อวิเคราะห์สารพิษตกค้างในผลผลิตพริก พบว่า ผลผลิตพริกของเกษรกรทั้งวิธีแนะนำ และวิธีเกษตรกรไม่พบสารพิษตกค้างในผลผลิตพริก สำหรับการศึกษาเพื่อหาแนวทางในการเพิ่มมูลค่าของพริก นอกเหนือจากการปลูกเพื่อจำหน่ายหรือบริโภค ได้มุ่งเน้นไปยังสารสำคัญกลุ่ม capsaicinoids ที่มีอยู่ในพริก ได้แก่capsaicin และ dihydrocapsaicin ในพริกสายพันธุ์ต่าง ๆ ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างจำนวน 10 สาย พบว่า พริกที่มีปริมาณสารกลุ่ม capsaicinoids สูงที่สุดได้แก่พริกขึ้หนู และพริกชี สำหรับพริกที่มีปริมาณสารกลุ่ม capsaicinoids 2015-10-10T07:46:58Z 2021-05-17T11:35:27Z 2015-10-10T07:46:58Z 2021-05-17T11:35:27Z 2553 Technical Report http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15613 th_TH application/pdf รายงานการสัมมนาระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ระหว่างวันที่ 16-18 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมเจ.บี. อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ความไม่มั่นคงทางอาหาร
spellingShingle ความไม่มั่นคงทางอาหาร
นันทิการ์, เสนแก้ว
เขมมิการ์, โขมพัตร
อภิญญา, สุราวุธ
สาวิตรี, เขมวงศ์
ศรินณา, ชูธรรมธัช
อุดร, เจริญแสง
นลินี, จาริกภากร
ไพโรจน์, สุวรรณจินดา
การวิจัยและทดสอบการปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตพริกที่มีศักยภาพ และเพิ่มมูลค่าในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
description พริก (chilli) เป็นผักชนิดหนึ่งที่มีศักยภาพสูงและมีความสำคัญทางด้านเศรษฐกิจของประเทศเนื่องจากสามารถใช้เป็นส่วนประกอบในหลากหลายรูปแบบ ทั้งจากวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์แปรรูปในหลายวงการ แต่การปลูกพริกมักพบปัญหาโรคและแมลงศัตรูพริก รวมทั้งปัญหาเรื่องของสารพิษตกค้างในผลผลิต เพื่อแก้ปัญหาระยะยาว ได้ทำทดสอบการปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตพริกขี้หนูให้มีคุณภาพเพื่อการส่งออกและเพื่อการบริโภคในพื้นที่จังหวัดสงขลาและพัทลุง ในระหว่างปี 2551 – 2552 ทำการทดสอบปลูกพริกขี้หนู มี 2 กรรมวิธี คือ วิธีแนะนำ (การปลูกพริกตามคำแนะนำของ GAP พริก นำมาปรับใช้ให้เหมาะสมกับพื้นที่) และวิธีเกษตรกร (เป็นการปลูกพริกของเกษตรกรแต่ละรายปฏิบัติ) ผลการทดสอบ พบว่า การผลิตพริกในพื้นที่จังหวัดพัทลุง ตามวิธีแนะนำให้ผลผลิตพริกสดสูงกว่าวิธีปฏิบัติตามวิธีเกษตรกร คือ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 1,244 และ 997 กิโลกรัม/ไร่ ตามลำดับ คิดเป็นปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น 24.8 เปอร์เซ็นต์ ทำให้มีรายได้เหนือต้นทุนผันแปรที่เป็นเงินสดเฉลี่ย 50,396 บาท/ไร่ และวิธีเกษตรกรเฉลี่ย 34,130 บาท/ไร่ โดยมีผลตอบแทนเพิ่มขึ้น 52.2 เปอร์เซ็นต์ ส่วนในพื้นที่จังหวัดสงขลา พบว่า การผลิตพริกตามวิธีแนะนำให้ผลผลิตพริกสดสูงกว่าวิธีปฏิบัติตามวิธีเกษตรกร คือ ให้ผลผลิตเฉลี่ย 4,236 และ 3,132 กิโลกรัม/ไร่ ตามลำดับ คิดเป็นปริมาณผลผลิตที่เพิ่มขึ้น 35.2 เปอร์เซ็นต์ ทำให้มีรายได้เหนือต้นทุนผันแปรที่เป็นเงินสดเฉลี่ย 49,084 บาท/ไร่ และวิธีเกษตรกรเฉลี่ย 33,682 บาท/ไร่ และการสุ่มตัวอย่างพริกเพื่อวิเคราะห์สารพิษตกค้างในผลผลิตพริก พบว่า ผลผลิตพริกของเกษรกรทั้งวิธีแนะนำ และวิธีเกษตรกรไม่พบสารพิษตกค้างในผลผลิตพริก สำหรับการศึกษาเพื่อหาแนวทางในการเพิ่มมูลค่าของพริก นอกเหนือจากการปลูกเพื่อจำหน่ายหรือบริโภค ได้มุ่งเน้นไปยังสารสำคัญกลุ่ม capsaicinoids ที่มีอยู่ในพริก ได้แก่capsaicin และ dihydrocapsaicin ในพริกสายพันธุ์ต่าง ๆ ในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่างจำนวน 10 สาย พบว่า พริกที่มีปริมาณสารกลุ่ม capsaicinoids สูงที่สุดได้แก่พริกขึ้หนู และพริกชี สำหรับพริกที่มีปริมาณสารกลุ่ม capsaicinoids
format Technical Report
author นันทิการ์, เสนแก้ว
เขมมิการ์, โขมพัตร
อภิญญา, สุราวุธ
สาวิตรี, เขมวงศ์
ศรินณา, ชูธรรมธัช
อุดร, เจริญแสง
นลินี, จาริกภากร
ไพโรจน์, สุวรรณจินดา
author_facet นันทิการ์, เสนแก้ว
เขมมิการ์, โขมพัตร
อภิญญา, สุราวุธ
สาวิตรี, เขมวงศ์
ศรินณา, ชูธรรมธัช
อุดร, เจริญแสง
นลินี, จาริกภากร
ไพโรจน์, สุวรรณจินดา
author_sort นันทิการ์, เสนแก้ว
title การวิจัยและทดสอบการปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตพริกที่มีศักยภาพ และเพิ่มมูลค่าในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
title_short การวิจัยและทดสอบการปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตพริกที่มีศักยภาพ และเพิ่มมูลค่าในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
title_full การวิจัยและทดสอบการปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตพริกที่มีศักยภาพ และเพิ่มมูลค่าในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
title_fullStr การวิจัยและทดสอบการปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตพริกที่มีศักยภาพ และเพิ่มมูลค่าในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
title_full_unstemmed การวิจัยและทดสอบการปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตพริกที่มีศักยภาพ และเพิ่มมูลค่าในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
title_sort การวิจัยและทดสอบการปรับใช้เทคโนโลยีการผลิตพริกที่มีศักยภาพ และเพิ่มมูลค่าในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
publisher รายงานการสัมมนาระบบเกษตรแห่งชาติ ครั้งที่ 6 ระหว่างวันที่ 16-18 สิงหาคม 2553 ณ โรงแรมเจ.บี. อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา
publishDate 2015
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15613
_version_ 1703978902964142080