ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง
ข้อมูลทั่วไป : ประวัติ : ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง (PTLC97001-4-2) ได้จากการรวบรวมพันธุ์ข้าวเข็มทองท้องถิ่นในปีพ.ศ.2540 นำมาปลูกคัดเลือก ปลูกเปรียบเทียบผลผลิต และทดสอบคุณภาพ ตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ระหว่างปีพ.ศ.2542-2546 ที่ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ได้พันธุ์ที่มีคุณสมบัติทางกายภาพ และคุณส...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | Article |
Language: | th_TH |
Published: |
กรมวิชาการเกษตร
2016
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15624 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-15624 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-156242021-05-17T11:35:47Z ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง กรมวิชาการเกษตร ความไม่มั่นคงทางอาหาร ข้อมูลทั่วไป : ประวัติ : ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง (PTLC97001-4-2) ได้จากการรวบรวมพันธุ์ข้าวเข็มทองท้องถิ่นในปีพ.ศ.2540 นำมาปลูกคัดเลือก ปลูกเปรียบเทียบผลผลิต และทดสอบคุณภาพ ตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ระหว่างปีพ.ศ.2542-2546 ที่ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ได้พันธุ์ที่มีคุณสมบัติทางกายภาพ และคุณสมบัติทางการหุงต้มดีกว่าพันธุ์พื้นเมืองท้องถิ่น ลักษณะทั่วไป : ข้าวไวต่อช่วงแสง ทรงกอตั้งตรง สูงประมาณ 186 เซนติเมตร คอรวงยาว รวงแน่นปานกลาง ระแง้ถี่ ออกดอกประมาณ วันที่ 14 มกราคม ระยะพักตัวของเมล็ด 2 สัปดาห์ จำนวนรวงต่อตารางเมตรเฉลี่ย 162 รวง จำนวนเมล็ดดีต่อรวง เฉลี่ย 287 เมล็ด น้ำหนักข้าวเปลือก 100 เมล็ด 2.05 กรัม น้ำหนักข้าวเปลือกต่อถัง 10.86 กิโลกรัม ปริมาณอมิโลส 23.30 เปอร์เซ็นต์ ลักษณะเด่น : ให้ผลผลิตสูง เฉลี่ย 529 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์เล็บนกปัตตานี ร้อยละ 16 ลักษณะต้นแข็งไม่ล้ม ต้านทานโรคขอบใบแห้งดีกว่าพันธุ์เล็บนกปัตตานี พื้นที่แนะนำ : พื้นที่ภาคใต้ที่ปลูกข้าวนาปีในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดพัทลุง ข้อควรระวัง : ไม่ต้านทานโรคไหม้ในสภาพเรือนทดลอง 2016-01-15T04:12:29Z 2021-05-17T11:35:47Z 2016-01-15T04:12:29Z 2021-05-17T11:35:47Z 2547 Article http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15624 th_TH application/vnd.openxmlformats-officedocument.wordprocessingml.document กรมวิชาการเกษตร |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
ความไม่มั่นคงทางอาหาร |
spellingShingle |
ความไม่มั่นคงทางอาหาร กรมวิชาการเกษตร ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง |
description |
ข้อมูลทั่วไป :
ประวัติ :
ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง (PTLC97001-4-2) ได้จากการรวบรวมพันธุ์ข้าวเข็มทองท้องถิ่นในปีพ.ศ.2540 นำมาปลูกคัดเลือก ปลูกเปรียบเทียบผลผลิต และทดสอบคุณภาพ ตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ระหว่างปีพ.ศ.2542-2546 ที่ศูนย์วิจัยข้าวพัทลุง ได้พันธุ์ที่มีคุณสมบัติทางกายภาพ และคุณสมบัติทางการหุงต้มดีกว่าพันธุ์พื้นเมืองท้องถิ่น
ลักษณะทั่วไป :
ข้าวไวต่อช่วงแสง ทรงกอตั้งตรง สูงประมาณ 186 เซนติเมตร คอรวงยาว รวงแน่นปานกลาง ระแง้ถี่ ออกดอกประมาณ วันที่ 14 มกราคม ระยะพักตัวของเมล็ด 2 สัปดาห์ จำนวนรวงต่อตารางเมตรเฉลี่ย 162 รวง จำนวนเมล็ดดีต่อรวง เฉลี่ย 287 เมล็ด น้ำหนักข้าวเปลือก 100 เมล็ด 2.05 กรัม น้ำหนักข้าวเปลือกต่อถัง 10.86 กิโลกรัม ปริมาณอมิโลส 23.30 เปอร์เซ็นต์
ลักษณะเด่น :
ให้ผลผลิตสูง เฉลี่ย 529 กิโลกรัมต่อไร่ สูงกว่าพันธุ์เล็บนกปัตตานี ร้อยละ 16 ลักษณะต้นแข็งไม่ล้ม ต้านทานโรคขอบใบแห้งดีกว่าพันธุ์เล็บนกปัตตานี
พื้นที่แนะนำ :
พื้นที่ภาคใต้ที่ปลูกข้าวนาปีในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดพัทลุง
ข้อควรระวัง :
ไม่ต้านทานโรคไหม้ในสภาพเรือนทดลอง |
format |
Article |
author |
กรมวิชาการเกษตร |
author_facet |
กรมวิชาการเกษตร |
author_sort |
กรมวิชาการเกษตร |
title |
ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง |
title_short |
ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง |
title_full |
ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง |
title_fullStr |
ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง |
title_full_unstemmed |
ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง |
title_sort |
ข้าวเจ้าพันธุ์เข็มทองพัทลุง |
publisher |
กรมวิชาการเกษตร |
publishDate |
2016 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15624 |
_version_ |
1703979030037921792 |