ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง
ข้อมูลทั่วไป : ประวัติ : ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง ได้จากการผสมพันธุ์ 3 ทาง ระหว่างข้าวพันธุ์ผสมชั่วที่ 1 คือ สุพรรณบุรี 90 กับ RO2243-7-4(แม่) โดยมีลักษณะเด่นคือให้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคไหม้โรคขอบใบแห้ง ผสมกับสายพันธุ์ IR52280-117-1-1-3(พ่อ) มีลักษณะเด่นคือให้ผลผลิตสูง อายุสั้นต้านทานต่อโรคขอ...
Saved in:
Main Author: | |
---|---|
Format: | Article |
Language: | th_TH |
Published: |
กรมวิชาการเกษตร
2016
|
Subjects: | |
Online Access: | http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15628 |
Tags: |
Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
|
Institution: | Prince of Songkhla University |
Language: | th_TH |
id |
th-psu.2016-15628 |
---|---|
record_format |
dspace |
spelling |
th-psu.2016-156282021-05-17T11:35:55Z ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง กรมวิชาการเกษตร ความไม่มั่นคงทางอาหาร ข้อมูลทั่วไป : ประวัติ : ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง ได้จากการผสมพันธุ์ 3 ทาง ระหว่างข้าวพันธุ์ผสมชั่วที่ 1 คือ สุพรรณบุรี 90 กับ RO2243-7-4(แม่) โดยมีลักษณะเด่นคือให้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคไหม้โรคขอบใบแห้ง ผสมกับสายพันธุ์ IR52280-117-1-1-3(พ่อ) มีลักษณะเด่นคือให้ผลผลิตสูง อายุสั้นต้านทานต่อโรคขอบใบแห้งและเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ที่สถานีทดลองข้าวชัยนาท ในปี พ.ศ.2535 ทำการคัดเลือกข้าวพันธุ์ผสมตั้งแต่ชั่วที่ 1-6 และศึกษาพันธุ์ตั้งแต่ปี พ.ศ.2536-2541 ในปี พ.ศ.2542-2543 ทำการศึกษาพันธุ์ชั้นสูง แต่เนื่องจากข้าวยังมีความแปรปรวนในสายพันธุ์จึงคัดเลือกแบบสืบตระกูล ได้จำนวน 6 สายพันธุ์ และปลูกศึกษาต่อขั้นสูงทั้ง 6 สายพันธุ์ สามารถคัดเลือกได้พันธุ์ที่ดีที่สุดคือ CNT92024-4-2-1-1-PTL-2 ปลูกเปรียบเทียบภายในสถานี ปีพ.ศ.2544-2545 และในนาราษฎร์ท้องที่จังหวัดพัทลุงและจังหวัดสงขลา ลักษณะทั่วไป : อายุเก็บเกี่ยวเมื่อปลูกแบบปักดำ ประมาณ 112 วัน ปลูกแบบหว่านน้ำตมประมาณ 103 วัน ต้นสูงประมาณ 104 เซนติเมตร ทรงกอตั้ง ลำต้นแข็งไม่ล้มง่าย ช่วงเก็บเกี่ยวใบแก่ช้าปานกลาง รวงยาว ระแง้ถี่ปานกลาง คอรวงโผล่เล็กน้อย ข้าวเปลือกสีฟาง มีขนสั้นบนเปลือกเมล็ด รูปร่างข้าวกล้องยาวเรียว น้ำหนักข้าวเปลือก 100 เมล็ด 2.819 กรัม ข้าวสุกร่วนแข็ง ปริมาณอมิโลส 28.9 เปอร์เซ็นต์ ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 6 สัปดาห์ ลักษณะเด่น : ผลผลิตสูงในสภาพพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง โดยให้ผลผลิตเฉลี่ย 714 กิโลกรัมต่อไร่ ปลูกโดยวิธีหว่านน้ำตม สูงกว่าพันธุ์ชัยนาท 1 และสุพรรณบุรี 2 23 และ 29 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ มีอายุสั้นกว่าพันธุ์ชัยนาท 1 ประมาณ 7-10 วัน ต้านทานต่อโรคขอบใบแห้งดีกว่าพันธุ์ข้าวชัยนาทและสุพรรณบุรี 2 พื้นที่แนะนำ : พื้นที่ภาคใต้ที่ต้องการข้าวอายุสั้น โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังที่มีการปลูกข้าวช่วงก่อนน้ำท่วม และหลังน้ำลดเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาน้ำท่วมในช่วงฤดูนาปีเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม ข้อควรระวัง : ไม่ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล 2016-01-15T04:20:00Z 2021-05-17T11:35:55Z 2016-01-15T04:20:00Z 2021-05-17T11:35:55Z 2546 Article http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15628 th_TH application/vnd.openxmlformats-officedocument.wordprocessingml.document กรมวิชาการเกษตร |
institution |
Prince of Songkhla University |
building |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
continent |
Asia |
country |
Thailand Thailand |
content_provider |
Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center |
collection |
PSU Knowledge Bank |
language |
th_TH |
topic |
ความไม่มั่นคงทางอาหาร |
spellingShingle |
ความไม่มั่นคงทางอาหาร กรมวิชาการเกษตร ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง |
description |
ข้อมูลทั่วไป :
ประวัติ :
ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง ได้จากการผสมพันธุ์ 3 ทาง ระหว่างข้าวพันธุ์ผสมชั่วที่ 1 คือ สุพรรณบุรี 90 กับ RO2243-7-4(แม่) โดยมีลักษณะเด่นคือให้ผลผลิตสูง ต้านทานต่อโรคไหม้โรคขอบใบแห้ง ผสมกับสายพันธุ์ IR52280-117-1-1-3(พ่อ) มีลักษณะเด่นคือให้ผลผลิตสูง อายุสั้นต้านทานต่อโรคขอบใบแห้งและเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล ที่สถานีทดลองข้าวชัยนาท ในปี พ.ศ.2535 ทำการคัดเลือกข้าวพันธุ์ผสมตั้งแต่ชั่วที่ 1-6 และศึกษาพันธุ์ตั้งแต่ปี พ.ศ.2536-2541 ในปี พ.ศ.2542-2543 ทำการศึกษาพันธุ์ชั้นสูง แต่เนื่องจากข้าวยังมีความแปรปรวนในสายพันธุ์จึงคัดเลือกแบบสืบตระกูล ได้จำนวน 6 สายพันธุ์ และปลูกศึกษาต่อขั้นสูงทั้ง 6 สายพันธุ์ สามารถคัดเลือกได้พันธุ์ที่ดีที่สุดคือ CNT92024-4-2-1-1-PTL-2 ปลูกเปรียบเทียบภายในสถานี ปีพ.ศ.2544-2545 และในนาราษฎร์ท้องที่จังหวัดพัทลุงและจังหวัดสงขลา
ลักษณะทั่วไป :
อายุเก็บเกี่ยวเมื่อปลูกแบบปักดำ ประมาณ 112 วัน ปลูกแบบหว่านน้ำตมประมาณ 103 วัน ต้นสูงประมาณ 104 เซนติเมตร ทรงกอตั้ง ลำต้นแข็งไม่ล้มง่าย ช่วงเก็บเกี่ยวใบแก่ช้าปานกลาง รวงยาว ระแง้ถี่ปานกลาง คอรวงโผล่เล็กน้อย ข้าวเปลือกสีฟาง มีขนสั้นบนเปลือกเมล็ด รูปร่างข้าวกล้องยาวเรียว น้ำหนักข้าวเปลือก 100 เมล็ด 2.819 กรัม ข้าวสุกร่วนแข็ง ปริมาณอมิโลส 28.9 เปอร์เซ็นต์ ระยะพักตัวของเมล็ดประมาณ 6 สัปดาห์
ลักษณะเด่น :
ผลผลิตสูงในสภาพพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนัง โดยให้ผลผลิตเฉลี่ย 714 กิโลกรัมต่อไร่ ปลูกโดยวิธีหว่านน้ำตม สูงกว่าพันธุ์ชัยนาท 1 และสุพรรณบุรี 2 23 และ 29 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ มีอายุสั้นกว่าพันธุ์ชัยนาท 1 ประมาณ 7-10 วัน ต้านทานต่อโรคขอบใบแห้งดีกว่าพันธุ์ข้าวชัยนาทและสุพรรณบุรี 2
พื้นที่แนะนำ :
พื้นที่ภาคใต้ที่ต้องการข้าวอายุสั้น โดยเฉพาะในเขตพื้นที่ลุ่มน้ำปากพนังที่มีการปลูกข้าวช่วงก่อนน้ำท่วม และหลังน้ำลดเพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาน้ำท่วมในช่วงฤดูนาปีเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม
ข้อควรระวัง :
ไม่ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้ำตาล |
format |
Article |
author |
กรมวิชาการเกษตร |
author_facet |
กรมวิชาการเกษตร |
author_sort |
กรมวิชาการเกษตร |
title |
ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง |
title_short |
ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง |
title_full |
ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง |
title_fullStr |
ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง |
title_full_unstemmed |
ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง |
title_sort |
ข้าวเจ้าพันธุ์พัทลุง |
publisher |
กรมวิชาการเกษตร |
publishDate |
2016 |
url |
http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15628 |
_version_ |
1703979526943408128 |