การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง

การวิจัยได้คิดค้นพัฒนาเทคนิคการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการผลิตพืช ผลการวิจัยสรุปว่า วิธีการผลิตพืชให้เพียงพอต่อการดารงชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชนควรดาเนินการดังนี้ คือ 1)พัฒนาการผลิตพืชรวม 9 กลุ่มให้มีชนิดและปริมาณพืชเพียงพอต่อการใช้ประโยชน์ทุกด้านในครัวเรือน ส่...

Full description

Saved in:
Bibliographic Details
Main Authors: สาราญ สะรุโณ, นลินี จาริกภากร, อุดร เจริญแสง, ปัทมา พรหมสังคหะ, อาอีฉ๊ะ ละใบจิ, เสาวภาค รัตนสุภา, ไพเราะ เทพทอง, ชอ้อน พรหมสังคหะ, มานิตย์ แสงทอง, สมใจ จีนชาวนา, อริยธัช เสนเกตุ, เกียรติศักดิ์ ขุนไกร
Format: Other
Language:th_TH
Published: สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร 2016
Subjects:
Online Access:http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15634
Tags: Add Tag
No Tags, Be the first to tag this record!
Institution: Prince of Songkhla University
Language: th_TH
id th-psu.2016-15634
record_format dspace
spelling th-psu.2016-156342022-06-28T07:50:21Z การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง สาราญ สะรุโณ นลินี จาริกภากร อุดร เจริญแสง ปัทมา พรหมสังคหะ อาอีฉ๊ะ ละใบจิ เสาวภาค รัตนสุภา ไพเราะ เทพทอง ชอ้อน พรหมสังคหะ มานิตย์ แสงทอง สมใจ จีนชาวนา อริยธัช เสนเกตุ เกียรติศักดิ์ ขุนไกร ความไม่มั่นคงทางอาหาร การวิจัยได้คิดค้นพัฒนาเทคนิคการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการผลิตพืช ผลการวิจัยสรุปว่า วิธีการผลิตพืชให้เพียงพอต่อการดารงชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชนควรดาเนินการดังนี้ คือ 1)พัฒนาการผลิตพืชรวม 9 กลุ่มให้มีชนิดและปริมาณพืชเพียงพอต่อการใช้ประโยชน์ทุกด้านในครัวเรือน ส่วนในระดับชุมชนควรมีการร่วมกันปลูกพืชเพื่อสาธารณะประโยชน์ และจัดสร้างเรือนเพาะชาสาหรับการเพาะขยายพันธุ์พืช 2)พัฒนาภูมิปัญญาการผลิตพืช โดยการทาแปลงทดลองผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นกับผลงานวิจัยทางวิชาการ 3)จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อสนับสนุนความสาเร็จในการผลิตพืชโดยทาการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม พัฒนาความเป็นต้นแบบ “จัดเวทีวิจัยสัญจร”เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เชื่อมโยงกับเครือข่ายภายในและภายนอก และสร้างวาทกรรม “4 เสาหลักสู่ความพอเพียง” เพื่อสื่อความเข้าใจเทคนิคการพัฒนา ได้แก่ หัวใจพอเพียง , 9 พืชผสมผสานพอเพียง , ภูมิปัญญาภิวัตน์พอเพียง และดารงชีพพอเพียง 4)การวิจัยได้สร้างตัวชี้วัดระดับความพอเพียงในการผลิตพืช ได้แก่ ด้านความพอประมาณ : การลดต้นทุน เพิ่มรายได้ ปริมาณพืชใช้ประโยชน์ ความมั่นคงพืชอาหาร พืชกับความเป็นอยู่ พืชกับความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ พืชกับความสุขมวลรวม ด้านความมีเหตุผล: การใช้เหตุ ใช้ผล ตรวจสอบติดตาม ความรู้ และคุณธรรมในการผลิตพืช ด้านภูมิคุ้มกัน : ภูมิคุ้มกันจากผลกระทบและการเพิ่มทุนในการดารงชีพ ซึ่งการนาตัวชี้วัดไปประเมินผลกระทบจากพัฒนา พบว่าทาให้คะแนนระดับความพอเพียงในการดารงชีพเพิ่มขึ้นจาก 3.51 เป็น 3.85 สัดส่วนรายได้ด้านพืชจากเดิมที่มีแนวโน้มลดลงกลับเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 รายจ่ายทางการเกษตรลดลง ร้อยละ 56.0 ผลการวิจัยนี้ได้ทาให้เกิดรูปแบบความชัดเจนการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการผลิตพืชที่เป็นรูปธรรม เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาต่อยอด และเป็นงานวิจัยที่สามารถนาไปกาหนดเป็นนโยบายการพัฒนาการผลิตพืชได้ทั่วประเทศ มีความครอบคลุมหลายมิติของการดารงชีพ มีความยั่งยืน เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกรและชุมชนได้ทันที 2016-01-15T07:00:24Z 2021-05-17T11:36:07Z 2016-01-15T07:00:24Z 2021-05-17T11:36:07Z 2556 Other http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15634 th_TH application/pdf สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร
institution Prince of Songkhla University
building Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
continent Asia
country Thailand
Thailand
content_provider Khunying Long Athakravi Sunthorn Learning Resources Center
collection PSU Knowledge Bank
language th_TH
topic ความไม่มั่นคงทางอาหาร
spellingShingle ความไม่มั่นคงทางอาหาร
สาราญ สะรุโณ
นลินี จาริกภากร
อุดร เจริญแสง
ปัทมา พรหมสังคหะ
อาอีฉ๊ะ ละใบจิ
เสาวภาค รัตนสุภา
ไพเราะ เทพทอง
ชอ้อน พรหมสังคหะ
มานิตย์ แสงทอง
สมใจ จีนชาวนา
อริยธัช เสนเกตุ
เกียรติศักดิ์ ขุนไกร
การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
description การวิจัยได้คิดค้นพัฒนาเทคนิคการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการผลิตพืช ผลการวิจัยสรุปว่า วิธีการผลิตพืชให้เพียงพอต่อการดารงชีพตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงทั้งในระดับครัวเรือนและชุมชนควรดาเนินการดังนี้ คือ 1)พัฒนาการผลิตพืชรวม 9 กลุ่มให้มีชนิดและปริมาณพืชเพียงพอต่อการใช้ประโยชน์ทุกด้านในครัวเรือน ส่วนในระดับชุมชนควรมีการร่วมกันปลูกพืชเพื่อสาธารณะประโยชน์ และจัดสร้างเรือนเพาะชาสาหรับการเพาะขยายพันธุ์พืช 2)พัฒนาภูมิปัญญาการผลิตพืช โดยการทาแปลงทดลองผสมผสานภูมิปัญญาท้องถิ่นกับผลงานวิจัยทางวิชาการ 3)จัดกิจกรรมการเคลื่อนไหวทางสังคมเพื่อสนับสนุนความสาเร็จในการผลิตพืชโดยทาการพัฒนาแบบมีส่วนร่วม พัฒนาความเป็นต้นแบบ “จัดเวทีวิจัยสัญจร”เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เชื่อมโยงกับเครือข่ายภายในและภายนอก และสร้างวาทกรรม “4 เสาหลักสู่ความพอเพียง” เพื่อสื่อความเข้าใจเทคนิคการพัฒนา ได้แก่ หัวใจพอเพียง , 9 พืชผสมผสานพอเพียง , ภูมิปัญญาภิวัตน์พอเพียง และดารงชีพพอเพียง 4)การวิจัยได้สร้างตัวชี้วัดระดับความพอเพียงในการผลิตพืช ได้แก่ ด้านความพอประมาณ : การลดต้นทุน เพิ่มรายได้ ปริมาณพืชใช้ประโยชน์ ความมั่นคงพืชอาหาร พืชกับความเป็นอยู่ พืชกับความยั่งยืนของทรัพยากรธรรมชาติ พืชกับความสุขมวลรวม ด้านความมีเหตุผล: การใช้เหตุ ใช้ผล ตรวจสอบติดตาม ความรู้ และคุณธรรมในการผลิตพืช ด้านภูมิคุ้มกัน : ภูมิคุ้มกันจากผลกระทบและการเพิ่มทุนในการดารงชีพ ซึ่งการนาตัวชี้วัดไปประเมินผลกระทบจากพัฒนา พบว่าทาให้คะแนนระดับความพอเพียงในการดารงชีพเพิ่มขึ้นจาก 3.51 เป็น 3.85 สัดส่วนรายได้ด้านพืชจากเดิมที่มีแนวโน้มลดลงกลับเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.1 รายจ่ายทางการเกษตรลดลง ร้อยละ 56.0 ผลการวิจัยนี้ได้ทาให้เกิดรูปแบบความชัดเจนการประยุกต์ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการผลิตพืชที่เป็นรูปธรรม เป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาต่อยอด และเป็นงานวิจัยที่สามารถนาไปกาหนดเป็นนโยบายการพัฒนาการผลิตพืชได้ทั่วประเทศ มีความครอบคลุมหลายมิติของการดารงชีพ มีความยั่งยืน เกิดประโยชน์ต่อเกษตรกรและชุมชนได้ทันที
format Other
author สาราญ สะรุโณ
นลินี จาริกภากร
อุดร เจริญแสง
ปัทมา พรหมสังคหะ
อาอีฉ๊ะ ละใบจิ
เสาวภาค รัตนสุภา
ไพเราะ เทพทอง
ชอ้อน พรหมสังคหะ
มานิตย์ แสงทอง
สมใจ จีนชาวนา
อริยธัช เสนเกตุ
เกียรติศักดิ์ ขุนไกร
author_facet สาราญ สะรุโณ
นลินี จาริกภากร
อุดร เจริญแสง
ปัทมา พรหมสังคหะ
อาอีฉ๊ะ ละใบจิ
เสาวภาค รัตนสุภา
ไพเราะ เทพทอง
ชอ้อน พรหมสังคหะ
มานิตย์ แสงทอง
สมใจ จีนชาวนา
อริยธัช เสนเกตุ
เกียรติศักดิ์ ขุนไกร
author_sort สาราญ สะรุโณ
title การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
title_short การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
title_full การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
title_fullStr การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
title_full_unstemmed การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
title_sort การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิตพืชตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงในพื้นที่ภาคใต้ตอนล่าง
publisher สำนักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 8 กรมวิชาการเกษตร
publishDate 2016
url http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/15634
_version_ 1739851634691801088